สังคมและการเมือง : Social and Politics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวัด Measurement.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
Collaborative problem solving
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
การศึกษาชีววิทยา.
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
Supply Chain Management
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics : แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาเบื้องต้น 4 : 2 ก.ย. 60

ประวัติและแนวคิดทางสังคมวิทยา ความนึกคิดทุกด้านของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์ รวมทั้งความคิดในการที่จะต้องเชื่อฟังและ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อความเป็นระเบียบและอยู่รอด ของมนุษย์ในสังคม 2

แนวคิดทางสังคม August Comte เป็นผู้ใช้วิธีการวิทยาศาสตร์ Positive Philosophy ในการศึกษา โดยที่มีขั้นตอน : 1. สังเกต (Observation) 2. การทดลอง (Experiment) 3. การเปรียบเทียบ (Comparison) 4. วิธีทางประวัติศาสตร์ (Historical Method) 3

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) แนวคิดทางสังคม วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) การตรวจสอบและนิยามปัญหา Identification and Definition of the Problem การตั้งสมมติฐาน Formulation of Hypothesis การรวบรวมข้อมูล จัดระเบียบและการวิเคราะห์ข้อมูล Collection Organization and Analysis of Data การสรุป Formulation of Conclusion การยืนยัน ปฏิเสธ หรือปรับสมมติฐาน Verification Rejection or Modification of Hypothesis

วิธีการศึกษาสังคมวิทยาแบ่งเป็น 2 ส่วน แนวคิดทางสังคม วิธีการศึกษาสังคมวิทยาแบ่งเป็น 2 ส่วน 1. สังคมสถิตย์ (Social Static) ศึกษา กฎระเบียบและบรรทัดฐานในการ ประพฤติปฏิบัติของสมาชิกภายในสังคม 2. สังคมพลวัต (Social Dynamic) ศึกษาการเคลื่อนไหวสืบต่อเนื่องกัน และศึกษาสังคมในส่วนของความก้าวหน้าการเปลี่ยนแปลง 5

: การซับซ้อนน้อยสู่ความซับซ้อนมาก คือ วิวัฒนาการสังคม : การซับซ้อนน้อยสู่ความซับซ้อนมาก คือ ขั้นเทววิทยา ขั้นปรัชญา ขั้นวิทยาศาสตร์ 6

Herbert Spencer สังคมเป็นเหมือนอินทรีย์ที่มีชีวิตอย่างหนึ่งภายในสังคมประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน การเปรียบเทียบระหว่างอินทรีย์กับสังคม “ระบบสังคมมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเหมือนระบบชีววิทยา” 1. รูปแบบที่เรียบง่ายสู่รูปแบบที่ซับซ้อน 2. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน 3. มีศูนย์กลางควบคุม 4. มีการสืบต่อเนื่องกัน 5. มีโครงสร้างของหน่วยย่อย 7

“สังคมมีความขัดแย้งและต้องมีการเปลี่ยนแปลง” เน้น Karl Marx “สังคมมีความขัดแย้งและต้องมีการเปลี่ยนแปลง” เน้น 1. เศรษฐกิจเป็นพื้นฐานในการกำหนดโครงสร้างและพัฒนาสังคม 2. กลไกการเปลี่ยนแปลงทุกสังคมมีชั้นพื้นฐาน 2 ชั้น 2.1 นายทุน 2.2 กรรมาชีพ ความนึกคิดและความสำนึก โครงสร้างเบื้องต้น : ของมนุษย์ ประกอบด้วย ประเพณี กฎหมาย และการเมือง 8

Max Waber “การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์” (Social Action ) เน้น : ศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมโดยพิจารณาที่ตัวบุคคลเกี่ยวกับการกระทำ (Action) เกิดจากการอบรมทางสังคมในแต่ละสังคม

วิธีการศึกษาสังคมวิทยา 1. Verstehen (Understanding) พยายามเข้าใจการกระทำของบุคคล โดยการค้นหาความหมายที่บุคคลแสดงพฤติกรรมต่อตนเองและผู้อื่น 2. การใช้แบบในอุดมคติ (Ideal Types) 2.1 การกระทำซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุผล การกระทำที่มีเป้าหมาย (goal) และวิธีการสู่เป้าหมาย (means) 2.2 การกระทำในแบบใช้ค่านิยม วิธีการสู่เป้าหมาย เป็นการใช้ค่านิยม 2.3 การกระทำแบบใช้อารมณ์ ไม่มีวิธีการและไม่มีเป้าหมาย ขึ้นอยู่กับอารมณ์ผู้แสดง 2.4 การกระทำตามแบบขนบธรรมเนียมประเพณี

Georg Simmel “ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Individual) กับสังคม (Society)” สังคมเกิดขึ้นโดยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเกี่ยวกับการกระทำระหว่างสังคม (Social Interaction)

Emile Durkheim “สังคมในฐานะเป็นหน่วยรวมที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันของสถาบันต่างๆ” เน้น ศึกษาความจริงทางสังคม (Social Fact) ด้วยวิธีการศึกษาเปรียบเทียบ และงานเด่น “การฆ่าตัวตาย” (Suicide)

ทฤษฎีทางสังคม การอธิบายเกี่ยวกับคนและความสัมพันธ์ระหว่างคนตามหลักเหตุผล และความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของคนหรือระหว่างคนต่อคน คนต่อกลุ่มคน กลุ่มคนต่อกลุ่มคน คนต่อสภาพแวดล้อมอย่างมีระบบจนสามารถพยากรณ์ได้

ลักษณะเฉพาะของทฤษฎีสังคมวิทยา 1. ทฤษฎีสังคมวิทยา เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์ มีลักษณะทั่วไป : มีสังกัปจำนวนจำกัด โดยสังกัป (concept) มีสองฝ่ายๆหนึ่งเป็นกลุ่มตัวเหตุ (independent concepts) จะมีจำนวนมากกว่าหนึ่งสังกัป กับอีกฝ่ายหนึ่งเป็นสังกัปผล (dependent concept) ซึ่งจะมีตัวเดียว โดยทฤษฎีจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวเหตุและตัวผล : คำอธิบายเป็นไปตามหลักเหตุผล (logic) ดังความสัมพันธ์ระหว่างสังกัปเหตุและสังกัปผล : แต่ละทฤษฎีเป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ (สังกัปผล)

ลักษณะเฉพาะของทฤษฎีสังคมวิทยา 2. ทฤษฎีสังคมวิทยา เป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางสังคม คือ เป็นองค์ความรู้เกี่ยวข้องกัน : ประเภทของความสัมพันธ์ทางสังคม เช่น เรื่องกลุ่มสังคม ครอบครัว ชุมชน ชนชั้น และสหจร (association) : ลักษณะของความสัมพันธ์ เช่น เป็นความสัมพันธ์อย่างเหนียวแน่น สมัครสมานสามัคคี ปรองดอง แตกแยก วิวาททะเลาะเบาะแว้งขาดความสามัคคี : ขนาดของความสัมพันธ์มีกลุ่มขนาดใหญ่ เช่น กระทรวง กองทัพ กลุ่มขนาดกลาง เช่น บริษัท โรงงาน ชุมชน และกลุ่มขนาดเล็ก เช่น กลุ่มเพื่อนเล่น กลุ่มลงแขกทำงาน คณะกรรมการ : องค์ประกอบของความสัมพันธ์ เช่น คนอายุเท่าเทียมกัน ก็จะเป็นเพื่อนกัน กลุ่มนี้มีสถานการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมเท่าเทียมกันก็เป็นคนชนชั้นเดียวกัน

ลักษณะเฉพาะของทฤษฎีสังคมวิทยา 3 เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์และทฤษฎีสังคมศาสตร์สาขาหนึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความสัมพันธ์ทางสังคมหรือความสัมพันธ์ระหว่างคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างความ สัมพันธ์ทางสังคมกับสิ่งภายนอก เช่น : ความสัมพันธ์ระหว่างความสัมพันธ์ทางสังคมกับที่ดิน ทำให้เกิด ชนชั้นเจ้าของที่ดินและผู้เช่าที่ดิน ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพย์สิน เงินทอง ทำให้เกิดชนชั้นนายทุนและกรรมกร : ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาพราหมณ์กับความสัมพันธ์ทางสังคม ทำให้เกิดระบบวรรณะ : ความสัมพันธ์ระหว่างความสัมพันธ์ทางสังคมกับระบบกษัตริย์ ทำให้เกิดระบบศักดินา (estate) เกิดชนชั้นขุนนาง (feudal) คนชั้นทาส เป็นต้น

ประเภทของทฤษฎีสังคม 1. สังคมวิทยามหภาค (Grand Theories Level) เป็นทฤษฎีขนาดใหญ่ มีสังกัป/แนวคิดแต่ละทฤษฎีเป็น จำนวนมาก มีลักษณะเป็นคำบรรยาย (discursive) เรื่องราวหรือความรู้เรื่องต่างๆ เช่น เรื่องสังคมมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ชนชั้นทางสังคม การขัด เกลาทางสังคม ปัญหาสังคม เป็นต้น - ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่นิยม (structural-functional) - ทฤษฎีขัดแย้ง (conflict theory) - ทฤษฎีปริวรรตนิยม (exchange theory) - ทฤษฎีการกระทำระหว่างกันด้วยสัญลักษณ์ (symbolic interactionism) - ทฤษฎีปรากฏการณ์นิยม (phenomenology)

ประเภทของทฤษฎีสังคม โดยทั่วไปจะมีสังกัปผลหนึ่งตัว สังกัปเหตุหลายตัว 2. สังคมวิทยากลาง (Middle Range Theories Level) เป็นทฤษฎีขนาดย่อม มีสังกัปจำนวนจำกัด โดยทั่วไปจะมีสังกัปผลหนึ่งตัว สังกัปเหตุหลายตัว เพราะนักสังคมศาสตร์เชื่อว่า ผลอย่างหนึ่งมาจากเหตุ หลายอย่าง จึงสร้างทฤษฎีขนาดกลางขึ้นใหมีตัวผล หนึ่งตัว ตัวเหตุหลายตัว - ทฤษฎีศักยภาพการพัฒนาและแพร่กระจาย - ทฤษฎีการแพร่นวัตกรรมของโรเจอร์ - ทฤษฎีการสร้างความทันสมัยด้วยสื่อสารของเลินเนอร์ - ทฤษฎีองค์การประสิทธิภาพ - ทฤษฎีความมั่นคงของครอบครัว - ทฤษฎีสันติภาพในสังคม

ประเภทของทฤษฎีสังคม ทฤษฎีขนาดกลางเท่านั้น (proposition) แต่เป็นประพจน์ 3. สังคมวิทยาหลักทั่วไปเชิงประจักษ์ (Empirical Generalization Level) เป็นเพียงระดับประพจน์หนึ่ง ทฤษฎีขนาดกลางเท่านั้น (proposition) แต่เป็นประพจน์ ที่ยังไม่มีทฤษฎีสังกัด ฐานะเป็นแค่สมมติฐานการวิจัยที่ ได้รับการพิสูจน์ความถูกต้องมาแล้วชั้นหนึ่ง - การรับนวัตกรรมขึ้นอยู่กับความรู้จักนวัตกรรม - การรับนวัตกรรมขึ้นอยู่กับความสามารถรับนวัตกรรม - การรับนวัตกรรมขึ้นอยู่กับความเต็มใจรับนวัตกรรมนั้น

ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural Functionalism) Spencer และ Durkheim 1. สังคมมนุษย์มีลักษณะเป็นระบบ (System) 2. ระบบประกอบด้วยส่วนต่างๆ สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 3. เมื่อเกิดความขัดแย้ง และหน่วยย่อยต่างๆ ไม่สามารถทำหน้าที่ตนเองได้ถูกต้อง ทำให้เกิดความไม่สมดุลสังคม หน่วยย่อยอื่นๆ ต้องเปลี่ยนแปลง (หน้าที่) เพื่อสร้างความสมดุลขึ้นใหม่

ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) Karl Marx 1. ความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นระบบที่เต็มไปด้วยผลประโยชน์ขัดกัน 2. ความขัดแย้งเป็นลักษณะหนึ่งและหลีกเลี่ยงไม่ได้ในระบบสังคม 3. ความขัดแย้งมักอยู่ในรูปปฏิปักษ์ผลประโยชน์ระหว่าง 2 ฝ่าย 4. ความขัดแย้งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดสรรสิ่งที่มีจำกัด 5. ความขัดแย้งเป็นที่มาของการเปลี่ยนแปลงในระบบสังคม

ทฤษฎีการกระทำตอบโต้ (Interaction Theory) เน้นการวิเคราะห์สังคมโดยพิจารณา “การกระทำของบุคคล และการกระทำตอบโต้กันระหว่างบุคคล” “สมาชิกแต่ละคนเป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้เกิดสังคมและทำให้สังคมเปลี่ยนแปลง”