ชีวิตประจำวัน สู่ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรก ของชีวิต นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ ๖
นโยบายการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยในเขตสุขภาพที่ ๖ วงจรชีวิตของมนุษย์ 20/11/61 ๒๐/๑๑/๖๑ เกิด เด็ก รับปริญญา ทำงาน หนุ่ม-สาว แต่งงาน เลี้ยงลูก แก่ชรา เจ็บป่วย ตาย 20/11/61 สาธารณสุขนิเทศ นพ อภิชาต รอดสม 2 2
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (Child Nutrition Growth and Development) หลักการและเหตุผล “โอกาสทอง” ใน 1,000 วัน คือการดูแลทารกในครรภ์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึงคลอด(270วัน) เด็กอายุ 0-6 เดือน (180 วัน) 6 เดือนจนถึงอายุ 2 ปี (550วัน) ช่วงเวลาทองของการกำหนดศักยภาพของมนุษย์ ส่งผลต่ออนาคตของสังคม ประเทศ สมองพัฒนารวดเร็วที่สุด โดยเฉพาะสมองส่วนการเรียนรู้ ความจำ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ศ.ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุดในระยะยาว โดยคืนผลตอบแทนกลับคืนมาในอนาคตมากถึง 7 เท่า” ลงทุน หวังผล 1 ปี ปลุกพืชล้มลุก ลงทุน หวังผล 10 ปี ปลุกไม้ยืนต้น ลงทุน หวังผล 100 ปี สร้างคน
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กในช่วง1,000 วันแรกของชีวิตให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ เต็มตามศักยภาพ เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีตั้งครรภ์ และเด็ก 0-2 ปี เพื่อบูรณาการการทำงานของกลไกทุกระดับที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองและพัฒนาประชาชนกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็ก0-2 ปี ให้สามารถเชื่อมโยงในระดับนโยบาย กำกับดูแลและติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกัน เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Global Strategy for Women’s, Children’s and Adolescents’ Health
Draft for discussion MDG 4 – Reduce child mortality Since 1990 the global under-five mortality rate has dropped 49 percent Under-five mortality rate decline, 1990 and 2013 Draft for discussion Overall reduction in U5MR from 90 deaths per 1,000 live births in 1990 to 46 per 1,000 live births in 2013 Source: UN Inter-agency Group for Child Mortality Estimation. 2014.
Draft for discussion MDG 5 – Improve Maternal Health Globally, the maternal mortality ratio dropped by 45 % between 1990 and 2013; Unmet need for family planning declined from 17 % to 12 % Countries in categories by their maternal mortality ratio, 2013 Draft for discussion Maternal mortality ratio dropped globally from 380 deaths per 100,000 live births in 1990 to 210 deaths per 100,000 live births in 2013. Sources: Estimates by WHO, UNICEF, UNFPA, The World Bank and United Nations Population Division. 2014. UN MDG Report 2014.
These are silent tragedies that have to be prevented A great challenge … EVERY YEAR: 7.6 million children die before their 5th birthday 3.2 million newborn babies in the first month of life 2.4 million infants between 1 – 12 months 356,000 women die due to complications of pregnancy and childbirth 3 million stillbirths These are silent tragedies that have to be prevented
We know where children die … About 49% of all child deaths occurred in Africa and 33% in South-east Asia More than 50% of all child deaths were concentrated in just six countries: India, Nigeria, DR Congo, Pakistan, China and Ethiopia Sources: (1) Levels and Trends in Child Mortality, UN-IGME Report 2011; (2) Figure: Black et al. Child Survival Series. Lancet, 2003
We know why children die … Causes of deaths in children under 5 years (7.6 million deaths every year/ around 21,000 preventable deaths every day) Figures adapted from Countdown to 2015, Decade report. 2010.
We know where maternal mortality is highest … Source: Estimates of maternal mortality levels and trends 1990-2008. WHO/UNICEF/UNFPA/World Bank, 2010
… and causes of maternal deaths (350,000 deaths every year/around 1000 preventable deaths every day) Figures adapted from Countdown to 2015, Decade report. 2010.
Effective interventions are available … Preventive interventions Family planning Antenatal care Skilled care at birth Postnatal care, mother and baby Early initiation and exclusive breastfeeding for 6 months Complementary feeding Immunization Insecticide treated bed-nets Prevention of mother to child transmission of HIV Treatment interventions Emergency Obstetric Care Neonatal resuscitation Care of LBW babies and sick newborns ORT and zinc for diarrhoea Antibiotics for dysentery Antibiotics for pneumonia Anti-malarials Treatment of STIs and Antiretroviral treatment for HIV
But coverage is low… But what is still going wrong? We know the effective interventions and these interventions are being adopted and promoted by many of the countries in the world. A key part of the explanation of our inability to be more successful is shown in this slide. Improving maternal and child health requires coverage of high impact interventions all along the continuum of care. The latest report from the Countdown to 2015 shows coverage levels in the 68 high mortality countries monitored by the Countdown. While rates tend to be higher for immunizations, they are very low for newer interventions (insecticide treated bed nets) and for those that depend on curative services (for diarrhoea, pneumonia, and malaria) and 24 hr. access to care (providing emergency child birth services such as caesarean sections). Exclusive breastfeeding rates remain low and less than 40% of mothers receive a postnatal visit. 14
Inequities are great Poorest quintile Richest quintile The situation gets even clearer in terms of the lack of coverage with interventions when we look at coverage according to quintiles of wealth. The worst case in this analysis is for access to skilled birth attendants. It was 3-fold higher among the families in the highest wealth quintile than in the lowest. Those who need the most often get the least. Access to services Source: 42 countdown countries, survey data 2000-2009. 15
Use of contraception is lowest among poorest women, those with less education, and living in rural areas Source: UN MDG Report, 2010
Regional trends and variation in adolescent birth rate Adolescents are particularly vulnerable Regional trends and variation in adolescent birth rate Particularly in the poorest countries (Source: United Nations Population Division 2010) (Source: United Nations, World Contraceptive Use 2005; 2006)
10 Leading Causes of Deaths in Adolescents Draft for discussion Source: Health for the World’s Adolescents: A Second Chance in the Second Decade. WHO, 2014..
Global Strategy for Women’s, Children’s and Adolescents’ Health
Women’s, children’s and adolescents’ health within the Sustainable Development Goals (SDGs) SDG Goal 3. Ensure healthy lives and promote well-being for all at all ages A subset of goal 3: Reduce the global maternal mortality ratio to less than 70 per 100,000 live births End preventable deaths of newborns and under-five children Ensure universal access to sexual and reproductive health care services, including for family planning, information and education, and the integration of reproductive health into national strategies and programmes Achieve universal health coverage, including financial risk protection, access to quality essential health-care services and access to safe, effective, quality and affordable essential medicines and vaccines for all Draft for discussion
ประเทศไทย(Kingdom of Thailand)
ปัญหาแม่และเด็กเชิงคุณภาพ ธาลัสซีเมียรายใหม่ ภาวะพร่องไทรอยด์ (TSH) เอดส์จากแม่สู่ลูก ชนิดรุนแรง 6 : 1,000 LB (4,250 คนต่อปี) อุบัติการณ์ 0.6 : 1,000 LB ( 600-คนต่อปี) • ปี 2553 : ร้อยละ 3.2 - นน.แรกเกิดน้อยร้อยละ 8.6 - ทารกขาดออกซิเจน 25.3 : 1,000 - เตี้ยร้อยละ 11.9 - อ้วน (ในเมือง) / ผอม (ในชนบท) – ฟันผุ ปัญหาแม่และเด็กเชิงคุณภาพ - แม่วัยรุ่นร้อยละ 17.5 -กินนมแม่ 6 เดือนร้อยละ 42.5 - พฤติกรรมการเลี้ยงลูกไม่ถูกต้องขาดภูมิต้านทานทางสังคม ทักษะชีวิต - ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี - เด็กมีความบกพร่องการเรียนรู้ สมาธิสั้น - เด็ก 0 -5 ปีพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 30 - IQ ไม่ได้มาตรฐาน 91.4 จุด/ EQ ยังด้อย เกิดน้อยคุณภาพแย่ - คุณภาพการบริการฯ? (WCC)เน้นการตรวจเชิงปริมาณ การให้คำแนะนำน้อย
“Together we must make a decisive move, now, to improve the health of women and children around the world. We know what works…" Launch of Global Health Strategy, "Every Woman, Every Child"Secretary-General Ban Ki-moon is pictured at the launch of the Global Strategy for Women’s and Children’s Health, “Every Woman, Every Child”. Photo ID 447454. 22/09/2010. United Nations, New York. UN Photo/Mark Garten. The answers lie in building our collective resolve to ensure universal access to essential health services and proven, life-saving interventions as we work to strengthen health systems. these range from family planning and making childbirth safe, to increasing access to vaccines and treatment for HIV and AIDS, malaria, tuberculosis, pneumonia and other neglected diseases.” www.unmultimedia.org/photo/ 24 24
Driving progress: The continuum of care
Academic /research institutions All have a role to play Parliamentarians Govt / Policy makers UN agencies Women and children Health care workers Business community Academic /research institutions Donors Civil society 26
Parliamentarians can take action now For every woman and every child to realize their right to health and health care
จากครอบครัวและแม่ที่พร้อม
Equity Environment Timing Time Line ถนนชีวิตเพื่อสุขภาพ (life Course approach) ความไม่เท่าเทียม เกิดทุกช่วงวัยแต่แตกต่างกัน Equity สิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย ทั้งกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ แต่ละวัยสัมผัสเอื้อและไม่เอื้อ ต่อการมีสุขภาพดี Environment ในแต่ละช่วงวัย มีวิกฤติ และโอกาสของชีวิต ไม่เหมือนกัน Timing Time Line ทุนสะสมทั้งดีและเสีย จะส่งผลต่อช่วงอายุต่อๆไปเรื่อยๆ
P I R A B Thailand Smart City Smart Thai Citizens Investment เพิ่มงบประมาณ PP เป็น 1% GDP Regulation & Law กฎหมาย/ยุทธศาสตร์/ เรื่องยาก/ต่อเนื่อง P Partnership กลไกประชารัฐ I R A Advocacy ใช้ HL เป็นเครื่องมือ B Building Capacity พัฒนากำลังคน PP Health Literate organization: HLO Health Literate Community: HLC Health Literacy (HL) + Media Literacy โรงเรียน/โรงพยาบาล/โรงงาน/ ที่ทำงาน ฯลฯ Smart City Smart Thai Citizens
Future Scenarios DOH 4.0 คนไทย 4.0 เด็กไทย 4.0 พัฒนาการสมวัย DSPM Marketing Policy มีลูกเพื่อชาติ,สาวไทยแก้มแดง ฯลฯ Digital Health Literacy Applications for Better Life Health in All Policy (HiAP) พัฒนาการสมวัย DSPM นโยบายมหัศจรรย์ 1000 วัน Application เด็กไทย 4.0 สมุดสีชมพูยุคใหม่ ศูนย์เด็กเล็กและอนุบาล ฝึกทักษะ
ชีวิตประจำวัน สู่ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรก ของชีวิต ปัจจัย 4 นิสสัย 4 อาหาร อาภรณ์ โอสถ อาศัย อาหาร ออกกำลัง (กิจกรรมทางกาย) อารมณ์ งดบุหรี่ เลี่ยงสุรา ยาเสพติด
อาหาร โจน จันได ตัดสินใจไปใช้ชีวิตอยู่ในป่าที่จังหวัดเชียงใหม่ เขาอยู่โดยไร้ซึ่งความสะดวกความสบายทุกชนิด ไม่มีน้ำประปา ไม่มีไฟฟ้า มีแต่ตัวเองกับธรรมชาติ โดย โจน จันได อาศัยอยู่ภายใต้หลังคาบ้านดินที่เขาสร้างเองกับมือ โดย โจน จันได ปลูกบ้านจากดินเหนียวหลังแรกจากความคิด ผสมกับที่ได้เห็นภาพการทำ บ้านดิน ในหนังสือของฝรั่ง เมื่อบ้านดินหลังแรกสำเร็จ โจน จันได ก็ทำหลังต่อ ๆ มาให้กับชุมชนแถบนั้นโดยไม่เก็บเงิน โดย โจน จันได อยู่อย่างง่าย ๆ ปลูกผักปลูกข้าวกินเอง เขาไม่มีเงินเก็บ เพราะคิดว่าเงิน เก็บไว้ก็เอาแน่เอานอนไม่ได้ แต่ข้าวและพืชผักปลูกไว้แล้วเลี้ยงชีวิตได้ สบายใจกว่า...
ปัจจัย 4 / 3 อ 2 ส "ผมเคยไปอยู่กรุงเทพฯ เจ็ดปีไม่เคยกินอิ่มเลย และถามตัวเองว่า ชีวิตเราทำงานให้ใคร ผมก็เลยกลับบ้านไปเป็นชาวบ้าน แต่ผมก็ไม่ได้อยู่อย่างชาวบ้าน เพราะชาวบ้านส่วนใหญ่ปลูกผักเพื่อขาย ยิ่งปลูกยิ่งไม่เหลืออะไร ทั้ง ๆ ที่ชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ แต่ทำไมคนส่วนใหญ่ทำให้ชีวิตซับซ้อน จนไม่มีเวลาคิดถึงตัวเอง คิดถึงแต่งาน งาน หาเงินและใช้เงิน ทำงานหนักขนาดนี้แล้วไม่พอกิน ก็ต้องคิดแล้ว" โจน จันได กล่าว
"ทำงานบ้านดินมา 10 ปี รู้สึกว่าเหนื่อย จึงอยากพัก บ้านดินทำเมื่อไหร่ก็ได้ แต่สิ่งที่อยากทำจริงๆ ในตอนนี้ คือการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พื้นบ้านแท้ ๆ มาเพาะปลูก การเก็บเมล็ดพันธุ์มีความสำคัญกว่าการทำบ้านดิน เพราะความรู้ในการทำบ้านดิน เรียนรู้ได้ง่าย ทำเมื่อไหร่ก็ได้ แต่เมล็ดพันธุ์นับวันจะหายไปจากโลกทุกวัน การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ต้องรีบทำ ไม่อย่างนั้นจะหายไปจากโลก ต้องเร่งรีบเก็บรักษาไว้"
"ฝรั่งที่มาเรียนรู้ บางคนเป็นสถาปนิก ผู้พิพากษา นักเขียน บางคนตกงานแต่สับสนในชีวิต ไม่ชอบวิถีชีวิตแบบเดิม ไม่รู้จะไปไหน หลายคนมาก็เปลี่ยนแปลงชีวิต แต่คนไทยมาฝึกฝนเรื่องเกษตรน้อย เพราะมองว่าการเกษตรเป็นเรื่องต่ำต้อย คนที่มาเป็นชนชั้นกลาง ไม่ใช่ชาวนาหรือเกษตรกร การเป็นเกษตรกรทำให้ผมมีเวลา ทำอะไรก็ได้อย่างอิสระ ผมจะไม่กลับไปทำงานแบบเดิม ตอนนี้ผมพอใจกับสิ่งที่ได้ประสบในชีวิตแล้ว และก็จะใช้ชีวิตที่เหลือให้เป็นประโยชน์มากที่สุด ไม่มีอะไรให้กังวล”
สิ่งที่จางไป/หายไป หมู เห็ด เป็ด ไก่ วัว ควาย แพะ ฯลฯ มูลสัตว์ ปุ๋ยหมัก น้ำหมัก ผักสวนครัว รั้วกินได้ กินทุกอย่างที่ปลูก เลี้ยง ปลูกทุกอย่างที่กิน ออกกำลังจากกิจกรรมที่ทำ อารมณ์ดี ถ่ายทอดสู่เด็กๆ ลูกหลาน ทำเป็นชุมชนรักษ์สุขภาพ พึ่งตนเองได้
4 C Class สร้างความรู้ให้ตระหนัก Camp ลงมือปฏิบัติ ทำค่าย Club ตั้งกลุ่ม ตั้งชมรม CoPs Communities of Practice ชุมชนแห่งการเรียนรู้
เข้าใจ คนรู้ รู้ตน เข้าถึง รู้งาน รู้คน พัฒนาคน สุขภาพดี พัฒนาผลงาน จึงพัฒนา รู้งาน คนสนับสนุน คนแสดง รู้คน พัฒนาคน สุขภาพดี เศรษฐกิจดี สิ่งแวดล้อมดี พัฒนาผลงาน พัฒนาองค์กร 20/11/61 A.ROD
Equity Environment Timing Time Line ถนนชีวิตเพื่อสุขภาพ (life Course approach) ความไม่เท่าเทียม เกิดทุกช่วงวัยแต่แตกต่างกัน Equity สิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย ทั้งกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ แต่ละวัยสัมผัสเอื้อและไม่เอื้อ ต่อการมีสุขภาพดี Environment ในแต่ละช่วงวัย มีวิกฤติ และโอกาสของชีวิต ไม่เหมือนกัน Timing Time Line ทุนสะสมทั้งดีและเสีย จะส่งผลต่อช่วงอายุต่อๆไปเรื่อยๆ