บทที่ 7 ราคา Price.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

Lesson 11 Price.
Lesson 5 Place.
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
หลักการตลาด บทที่ 9 กลยุทธ์การตั้งราคา.
หลักการตลาด บทที่ 15 การส่งเสริมการขาย.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
เกณฑ์ประเมินสื่อ.
1 บทที่ 14 Developing Pricing Strategies and Programs บรรยายโดย...ผศ.สุรพล สังฆโสภณ.
Rimping Five-forces Analysis
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
ต้นทุนการผลิต.
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
ตัวแบบสินค้าคงคลัง (Inventory Model)
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Principle of Marketing
บทที่ 13 การจัดจำหน่าย.
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
Flexible Budgeting and
Market System Promotion & Development Devision
การวิเคราะห์งบการเงิน
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การบริหารคลังสินค้า.
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
บทที่ 9 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
บทที่ 10 การวางแผนธุรกิจ
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด.
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
ชื่อ –สกุล นายอนุพันธ์ วุธประดิษฐ์ ตำแหน่ง ผช.หัวหน้าหน่วย (พพธ.7)
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
(เครื่องมือทางการบริหาร)
Origin Group Present.
กลยุทธ์สำหรับผู้นำ ผู้ท้าชิง ผู้ตาม และตลาดเฉพาะ
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
กลยุทธ์ธุรกิจ.
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 ราคา Price

ความหมายของ ราคา Price ราคา เป็นสิ่งที่กำหนดมูลค่าของผลิตภัณฑ์ในรูปของเงินตรา ราคาเป็นตัวกลางที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของ ซึ่งมีผลให้ผู้ขายเกิดรายได้ และผู้ซื้อเกิดความพอใจจากการเป็นเจ้าของสินค้าและบริการนั้น

คำอื่นที่เรียกแทนคำว่าราคา ค่าจ้าง ค่าเช่า เงินเดือน ค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม ค่าหน่วยกิต

ความสำคัญของราคา 1.ราคาต่อธุรกิจ 2. ราคาต่อเศรษฐกิจ ความอยู่รอดของกิจการ กำหนด โปรแกรมการตลาด กำหนด 3P กำหนดช่องทางการจำหน่าย ส่วนลดคนกลาง ราคากับต้นทุนการส่งเสริมการตลาด , ต้องคุ้มทุน 1.ราคาต่อธุรกิจ มีเงินหมุนเวียนในระบบ เป็นค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กำไร ใช้จัดสรรทรัพยากรการผลิต 2. ราคาต่อเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างราคา กับ ส่วนประสมการตลาดอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างราคา กับ ส่วนประสมการตลาดอื่น Price # Product # Place # Promotion

1. Price Vs Product Price # Product Different Price # Product Positioning Price # Product Image Price # Product Warranty Price # Product Service

2. Price Vs Place * สินค้าอุปโภคบริโภค กระจายแบบทั่วถึง * สินค้าอุปโภคบริโภค กระจายแบบทั่วถึง * Consumer goods * Intensive Distribution * สินค้าราคาสูงคุณภาพดี กระจายแบบเลือกสรร * Shopping Product * Selective Distribution สินค้าเจาะจงซื้อ กระจายสินค้าแบบผูกขาด Specialty Product * Exclusive distribution

ค่าใช้จ่ายที่เข้ามาเกี่ยวข้องในการกระจายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ คนกลาง (Trade Promotion) ด้านการกระจายสินค้า (Physical Distribution) ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องต้นทุนในการขนส่ง

3. Price Vs Promotion การตั้งราคาต้องครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการตลาดด้วย ได้แก่ การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ใช้พนักงานขาย ต้องรวมในราคาสินค้าแล้ว

วัตถุประสงค์การตั้งราคา มุ่งกำไร มุ่งกำไรสูงสุด มุ่งกำไรตามเป้าหมาย มุ่งยอดขาย มักใช้วิธีการลดราคาอาจทำให้ได้ยอดขายแต่กำไรต่ำได้ รักษาเสถียรภาพ *อาจต้องลดราคาเพื่อสู้คู่แข่งขัน หลีกเลี่ยงการแข่งขันด้วยการตั้งราคาสูงคุณภาพดี วัตถุประสงค์การตั้งราคา

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา ปัจจัยภายในองค์การ ปัจจัยภายนอกองค์การ 1. ต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 1. ความต้องการซื้อ 2. ภาพพจน์ของสินค้าและภาพพจน์ของบริษัท 2. สภาพการแข่งขัน 3. คุณภาพและลักษณะของผลิตภัณฑ์ 3. คุณภาพของสินค้าในสายตาของผู้บริโภค 4 ส่วนผสมทางการตลาด 4P 4. ระบบการจัดจำหน่าย 5. ผู้ขายวัตถุดิบ 6. รัฐบาล 7. สภาวะทางเศรษฐกิจ 8.วงจรชีวิตของสินค้า

นโยบายการกำหนดราคา (Pricing Policy) ระดับราคาตามตลาด Meet the market price ระดับราคาสูงกว่าตลาด Above the market price ระดับราคาต่ำกว่าตลาด Under the market price นโยบายระดับราคา One Price Policy ต่อรองไม่ได้ Flexible price Policy ต่อรองได้ โดยมีส่วนลด (Discount) ราคาเดียวหรือยืดหยุ่นได้

ประเภทของส่วนลดที่กระทบต่อราคา 1. ส่วนลดการค้า Trade discount ลดให้คนกลาง 2. ส่วนลดจากปริมาณการซื้อมาก Quantity discount 3. ส่วนลดเงินสด Cash discount เช่น 2/10, n/60 เร่งลูกหนี้ให้จ่ายเร็วขึ้น 4. ส่วนนอกฤดูกาล Seasonal Discount เร่งลูกค้าให้ซื้อ

วิธีการกำหนดราคาขั้นพื้นฐาน ทำความเข้าใจกับประเภทของทุน 1. ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC) 2. ต้นทุนผันแปรรวม (Total Variable Cost : TVC) 3. ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) 4. ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost : AC) 4.1 ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (AFC) 4.2 ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (AVC) 4.3 ต้นทุนเฉลี่ย (AC)

วิธีการกำหนดราคา ก. การกำหนดราคาของร้านค้าส่งร้านค้าปลีก 1. การตั้งราคาแบบบวกเพิ่ม (Mark up pricing) 1.1 การตั้งราคาบวกจากต้นทุน (Cost plus Pricing) 1.2 การตั้งราคาจากราคาขายสินค้า (Markup on Selling Pricing) 1.3 การตั้งราคาด้วยวิธีบวกเพิ่มแบบลูกโซ่ (Mark up Chain)

ข. การคำนวณราคาของผู้ผลิต 1. การกำหนดราคาโดยวิธีส่วนบวกเพิ่มอย่างง่าย (Simplified Cost-Plus Method) 2. การคำนวณราคาขายโดยวิธีส่วนบวกเพิ่มจากต้นทุนเฉลี่ย (Cost-Plus Method Using Average Cost Curve)

1.2 การตั้งราคาจากราคาขายสินค้า (Markup on Selling Pricing) ตัวอย่าง บริษัทมีต้นทุนที่ซื้อสินค้ามาเพื่อขาย 45 บาท ต่อหน่วย ถ้าต้องการส่วนบวกเพิ่ม 10% จากราคาขาย จะต้องกำหนดราคาขายเท่าใด

1.3 การตั้งราคาด้วยวิธีบวกเพิ่มแบบลูกโซ่ (Mark up Chain) ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ต้นทุน 27 บาท = ทุน 90% ต้นทุน 30 บาท = ทุน 80% ต้นทุน 37.5 บาท = ทุน 60% ต้องการบวกเพิ่ม 10% = 3 บาท ต้องการบวกเพิ่ม 20% = 7.50 บาท ต้องการบวกเพิ่ม 40% = 25 บาท ราคาขาย 30 บาท ราคาขาย 37.50 บาท ราคาขาย 62.50 บาท วิธีคิด (27/90)x100 (30/…)x100 (…/…)x100

2. การคำนวณราคาขายโดยวิธีส่วนบวกเพิ่มจากต้นทุนเฉลี่ย (Cost-Plus Method Using Average Cost Curve) AFC = Average Fixed Cost ต้นทุนคงที่เฉลี่ย TFC = Total Fixed Cost ต้นทุนคงที่รวม AVC = Average Variable Cost ต้นทุนผันแปรรวม TVC = Total Variable Cost ต้นทุนผันแปรรวม AC = Average Cost ต้นทุนเฉลี่ย TC = Total Cost ต้นทุนรวม Q = Quantity ปริมาณการผลิต

AFC ต้นทุนคงที่เฉลี่ย AVC ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย Q ปริมาณการผลิต (1) AFC ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (2) = 3/1 TFC ต้นทุนคงที่รวม (3) AVC ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (4)=5/1 TVC ต้นทุนผันแปรรวม (5) = 1x4 TC ต้นทุนรวม (6) = 3+5 AC ต้นทุนเฉลี่ย (7)= 6/1 100 800 80,000 50 5,000 85,000 850 200 400 10,000 90,000 450 300 266.6 15,000 95,000 316.7 20,000 100,000 250 500 160 25,000 105,000 210 600 133.3 30,000 110,000 183.3 700 114.3 35,000 115,000 164.3 40,000 120,000 150 900 88.9 45,000 125,000 138.9 1,000 80 130,000 130 1,100 ?

กลยุทธ์การกำหนดราคา Pricing Strategy 1.กลยุทธ์การตั้งราคาสูง(Skim the Cream Pricing) 2. กลยุทธ์การตั้งราคาต่ำ (Penetration Pricing) 3. กลยุทธ์การตั้งราคาสูงพิเศษ (Premium Pricing) เป็นการสร้างภาพพจน์ให้สินค้า, สินค้ามีลักษณะพิเศษบางประการ, ลูกค้าพร้อมจ่ายเงินมาก, การส่งเสริมการตลาดเน้นส่งเสริมภาพพจน์สินค้า

4. กลยุทธ์การตั้งราคาเพื่อส่งเสริมการจำหน่าย (Promotional Pricing) 1) การกำหนดราคาเชิงจิตวิทยา (Psychological Pricing) 2) กำหนดราคาเป็นสายราคา (Price Lining) 3) การกำหนดราคาตามจำนวน (Unit Pricing) 4) การตั้งราคาแบบล่อใจ (Loss Leader Pricing) 5) การตั้งราคาเนื่องในโอกาสพิเศษ (Special Event Pricing) 6) การคืนเงินสด (Cash Rebate) 7) การให้ซื้อในอัตราดอกเบี้ยต่ำ (Low Interest Financing) 8) การรับประกันและบริการ (Warranty and Service)

Thank you for your attention