การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Continuous Quality Improvement
Advertisements

ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Salyavit Chittmittrapap
ครั้งที่ 9 บทที่ 2 25 มิถุนายน 2553
Medication Review.
Drug Use Behavior พฤติกรรมการใช้ยา
Impact of provider payment systems on medical practice variations and health outcomes among three public health insurance schemes in Thailand Phusit.
ADA 2013 Guideline :DM Goal.
Thongchai Pratipanawatr
Six building blocks Monitoring & Evaluation
The prevention of progression of arterial disease and diabetes (POPADAD) trial: factorial randomised placebo controlled trial of aspirin and antioxidants.
Pharmacist‘s role in Warfarin Team
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
Antimicrobial Therapy in Adult Patient with Sepsis
นิรันดร์ จ่างคง 4 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุม ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
Incidence and Progression of CKD in Thai-SEEK population:
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
Risk Management System
Framework for Evaluation & Sharing
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ชื่อยา Company E-Identifier No.
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
Service Plan : Rational Drug Use(RDU)
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Review of the Literature)
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
2 Mahosot Hospital, Vientiane, Lao PDR
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
การใช้ยา.
1. ภารกิจด้านการเรียนการสอน
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
Public Health Nursing/Community Health Nursing
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล Rational Drug Use Hospital
Rational Drug Use (RDU)
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
Framework for Evaluation & Sharing
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital Rational Drug Use นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital การบรรยายในการประชุมชี้แจง “การใช้ข้อมูลเพื่อติดตามการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use)” ด้วยโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ เวลา ๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซา จ.สุราษฎร์ธานี

เภสัชกรชุมชนกับการใช้ยาสมเหตุผล Rational Drug Use เภสัชกรชุมชนกับการใช้ยาสมเหตุผล นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การบรรยายในการประชุมวิชาการ “วันร้านยาคุณภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๕” วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๙ เวลา ๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ ห้องบอลรูม ๒ ชั้น ๓ โรงแรมดิเอมเมอรัล ถนนรัชดาภิแษก กรุงเทพมหานคร

เภสัชกรร้านยาคุณภาพ 31 มกราคม 2559

มากกว่าครึ่งหนึ่งของการใช้ยา เป็นไปอย่างไม่เหมาะสม การประเมินจากองค์การอนามัยโลก มากกว่าครึ่งหนึ่งของการใช้ยา เป็นไปอย่างไม่เหมาะสม (ไม่สมเหตุผล) Promoting rational use of medicines: core components in WHO Policy Perspectives on Medicines. World Health Organization. Geneva. September 2002.

System & Patient Safety ความปลอดภัยต่อผู้ป่วยในระบบยา นพ.พิสนธิ์ จงตระกูล วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุม การพัฒนาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย (Engagement for Patient Safety) วันพุธที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมบอลรูม โรงแรมนารายณ์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. จัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.)

การประชุม การพัฒนาเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย (Engagement for Patient Safety) วันพุธที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมบอลรูม โรงแรมนารายณ์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. จัดโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.)

การได้รับยาโดยไม่จำเป็น Patient Safety Engagement Concept (HA) การได้รับยาโดยไม่จำเป็น นำอันตรายไปสู่ผู้ป่วย อันเป็นอันตรายที่ป้องกันได้ การบริหารความเสี่ยง คือการค้นหา ประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง กำหนดมาตรการ และติดตาม/ประเมินผล เฝ้าระวังความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

คำถามจาก HA (1) ปัญหาการปรับขนาด/แนวทางการรักษาตามสภาวะโรคหรือเภสัช-จลนศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น eGFR < 30 ml/min ยังได้รับ metformin (2) การสั่งใช้ยาที่มีอันตรกิริยาต่อกัน (3) การสั่งใช้ NSAIDs ใน CVD และ CRF Dose Drug Interaction Special Populations

Lactic Acidosis --> Dialysis Dosage adjustment - metformin Lactic Acidosis --> Dialysis Drug interaction เช่น simvastatin/gemfibrozil หรือ domperidone/macrolide Rhabdomyolysis, QT prolong High risk drug & Special population – NSAIDs in CVD Myocardial infarction, High risk drug & Special population – NSAIDs in CRF Renal function deterioration (1) ปัญหาการปรับขนาด/แนวทางการรักษาตามสภาวะโรคหรือเภสัช-จลนศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น eGFR < 30 ml/min ยังได้รับ metformin (2) การสั่งใช้ยาที่มีอันตรกิริยาต่อกัน (3) การสั่งใช้ NSAIDs ใน CVD และ CRF Dose Drug Interaction Special Populations

การสั่งจ่ายยาเดิม (remed) ซึ่งผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องใช้แล้ว (หายแล้ว) การสั่งใช้ยาหลายชนิดในการรักษา 1 โรค เช่น dyspepsia ใช้ air-x + gaszyme + m.carminative หรือ dizziness ให้ dimenhydrinate + betahistine + flunarizine สั่งใช้ยาที่มีฤทธิ์ anticholinergic เช่น amitriptyline ในผู้สูงอายุ ทำ ให้เกิด delirium การสั่งจ่ายยาเดิม (remed) ซึ่งผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องใช้แล้ว (หายแล้ว) (4) การใช้ NSAIDs เกินความจำเป็นและต่อเนื่องระยะยาว (5) การใช้ยาซ้ำซ้อน เช่น prazosin + doxazosin, propranolol + atenolol (6) การใช้ยาในขนาดต่อวันสูงเกินกว่าข้อมูลหรือ evidence เช่น omeprazole 2*2, metformin(850) 2x3 (7) แพทย์เลือกใช้ยานอกบัญชียาหลักก่อน โดยไม่ผ่านการใช้ยาในบัญชีฯ (8) การใช้ยาปฏิชีวนะเกินจำเป็น Polypharmacy Special Populations - Geriatrics Cost Risk/Benefit Duplication Dosage NLEM Responsible use of Antibiotics

no evidence of infection improper dose adjustment no indication ได้รับยาโดยไม่จำเป็น ได้รับยาโดยไม่จำเป็น ได้รับยาโดยไม่จำเป็น หมายเหตุ รายการยาที่ปรากฏในตาราง เป็นรายการยาที่มีผู้วิจัยและตีพิมพ์ในวารสาร ทางการแพทย์ ยังมียาอื่น ๆ อีกมากมายที่มีการใช้อย่างไม่เหมาะสมในประเทศไทยซึ่ง ไม่ได้แสดงไว้ในตาราง

ประเด็นความไม่เหมาะสมของ การใช้ allupurinol Inappropriate prescription of allopurinol in a teaching hospital.  Only 77 (53.1%) received allopurinol with appropriate indications. No Indication  Among 131 patients, prescribed allopurinol for the diagnosis of gout, only 55 (42.0%) were diagnosed in accordance with the American Rheumatism Association criteria. No Indication  Thirty-eight patients (26.2%) did not have allopurinol dose adjustment according to the patients' creatinine clearance. No Dose Adjustment Athisakul S, Wangkaew S, Louthrenoo W. Inappropriate prescription of allopurinol in a teaching hospital. J Med Assoc Thai. 2007 May;90(5):889-94.

ยา 5 อันดับแรกที่ทำให้เกิดการแพ้ที่ผิวหนังรุนแรงได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย กลุ่มอาการสตีเวนส์-จอห์นสัน กลุ่มอาการเท็น (TEN) 46.9% ได้รับยา โดยไม่จำเป็น >50% ได้รับยา โดยไม่จำเป็น ขอบคุณ ศ. ดร.วิจิตรา ทัศนียกุล สำหรับกราฟที่ใช้ประกอบภาพ

ผลข้างเคียงด้านผิวหนังรุนแรง จากการแพ้ยา Co-trimoxazole อันดับ 1 Allopurinol อันดับ 2 Amoxicillin อันดับ 5 ผลข้างเคียงด้านผิวหนังรุนแรง จากการแพ้ยา SJS/TEN ยาอันตรายทุกชนิดต้องใช้ด้วยความรับผิดชอบรอบคอบ และระมัดระวัง อัตราการเสียชีวิต 20-25%

ผลข้างเคียง 8 ใน 12 อันดับแรก เกิดจากยาปฏิชีวนะ ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยาที่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงบ่อยที่สุดคือยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง amoxicillin

การใช้ยาปฏิชีวนะตั้งแต่อายุน้อย ๆ เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้ที่จมูก Clinical manifestations and epidemiology of allergic rhinitis (rhinosinusitis) in UpToDate Last literature review version 19.2 : May 2011. This topic last updated: April 29, 2010.

เอ็นร้อยหวายฉีกขาดจากควิโนโลนส์

แบคทีเรียดีตาย แบคทีเรียร้ายเข้าแทนที่ Clostridium difficile associated diarrhea (CDAD) ลำไส้ใหญ่อักเสบเป็นแผล จนท้องร่วงอย่างรุนแรงจากการใช้ยาปฏิชีวนะต่อเนื่อง หรือใช้บ่อยครั้ง Antibiotics-associated colitis (AAC) อัตราตาย 27% พบบ่อยที่สุดกับ clindamycin, cephalosporin, penicillin แบคทีเรียดีตาย แบคทีเรียร้ายเข้าแทนที่

Fecal Transplant คือการนำอุจจาระของผู้มีสุขภาพดีใส่เข้าไปลำไส้ใหญ่ของผู้ป่วยเป็นวิธีการรักษา CDAD ที่ได้ผลดี

HIGH RISK?