ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 2 บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยยา (Psychopharmacology) Antipsychotic Agents Anti anxiety Agents Antidepressant Stimulants as Mood Stabilizers Anticonvulsants Anti parkinsonism Implication for nursing ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
แนวคิดสำคัญของการบำบัดรักษาทางจิต เวช โรคทางจิตเวชมีปัจจัยเหตุร่วมกันทั้งปัจจัยด้านชีวภาพ ปัจจัยด้านจิตใจ และปัจจัยด้านสังคม สิ่งแวดล้อม ดังนั้นการบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวชจึงต้องอาศัยการบำบัดรักษาร่วมกันทั้งการบำบัดรักษาทางชีวภาพ การบำบัดรักษาทางจิตใจ และการบำบัดรักษาทางสังคม สิ่งแวดล้อม
รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช การบำบัดรักษาทางชีวภาพ : การใช้ยา (จิตเภสัชบำบัด) การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electro-Convulsive Therapy; ECT) การบำบัดทางจิต : การให้คำปรึกษา(Couselling) จิตบำบัด (Psychotherapy) รายบุคคล/รายกลุ่มครอบครัวบำบัด CBT การบำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ : พฤติกรรมบำบัด(Behavioral Therapy)
รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช 3. การบำบัดทางสังคม/สิ่งแวดล้อม : สิ่งแวดล้อมบำบัด(Milieu Therapy) กิจกรรมบำบัด (Group Activity Therapy) ชุมชนบำบัดอาชีวบำบัด การจำกัดพฤติกรรม (Setting Limits) ด้วยการใช้เครื่องผูกมัด (Restraints)ห้องแยก(Isolation)หรือกักขัง (Seclusion) 4. การบำบัดในภาวะวิกฤต และภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช
การรักษาทางด้านร่างกาย (Somatic Therapy) การบำบัดด้วยยา (Psycho- Pharmacological Therapy) การบำบัดด้วยไฟฟ้า (Electro Convulsive Therapy) การบำบัดโดยการผูกมัดและจำกัด ขอบเขต (Restraint and Set Limit) 11/18/2018
Characteristics of schizophrenia Prevalence 0.5–1.0% of population Onset Positive features in late adolescence or early adulthood Aspects of cognitive deficits detectable earlier in life Comorbidity Depression: ∼30–50% Substance abuse: ∼50% Suicide: ∼5–10%
Schizophrenia: A Disease with Various Aspects Negative Symptoms Affective flattening Alogia Avolition Anhedonia Social withdrawal Positive Symptoms Delusions Hallucinations Disorganized speech Catatonia Social/Occupational Dysfunction Work Interpersonal relationships Self-care Mood Symptoms Depression Anxiety Aggression Hostility Hopelessness Suicidality Cognitive Deficits Attention Memory Executive functions (e.g., abstraction)
การบำบัดรักษาด้วยยา(จิตเภสัชบำบัด) (Psycho-PharmacoTherapy) ยาเป็น first choice ในการรักษาผู้ป่วยจิตเวช เนื่องจากมี ประสิทธิภาพสูงในการรักษาผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการรุนแรง ทำให้อาการทางจิตสงบลงอย่างรวดเร็ว ลดอาการคลุ้มคลั่ง ดุร้าย หลงผิด ประสาทหลอน วิตกกังวล ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย ปัจจุบันมีการคิดค้นพัฒนายาใหม่ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น มี ผลข้างเคียงน้อยลง ทำให้ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ศ 21สค 58
กลไกการออกฤทธิ์ของยา ยาจะออกฤทธิ์โดยตรงต่อการควบคุมปริมาณสารสื่อประสาทใน สมอง ยาที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีคุณสมบัติที่สามารถซึมผ่าน “Blood-Brain Barrier” (เส้นเลือดฝอยที่ลักษณะพิเศษ สามารถป้องกันสิ่งแปลกปลอมจากเลือดเข้าไปทำอันตราย เซลล์ประสาท) ได้แก่มีโมเลกุลเล็กมากๆ ละลายในไขมันได้ดี มีโครงสร้างที่สามารถถูกดึงผ่าน BBB ได้ (carrier-mediated system) 11/18/2018
การบำบัดด้วยยา Chlorpromazine อาการทางจิตสงบลง เริ่ม 1950 Chlorpromazine อาการทางจิตสงบลง Reserpine (HT) อาการซึมเศร้าดีขึ้น Iproniazid (TB) อาการซึมเศร้าดีขึ้น การศึกษาวิจัยทางประสาทวิทยา พบว่า ความผิดปกติทางด้านอารมณ์ ความคิด พฤติกรรม เกี่ยวข้องกับ การทำงานของสมอง การศึกษาทางชีวเคมีของเซลล์สมอง, องค์ความรู้ด้านพยาธิสภาพที่มาจากความผิดปกติของสมอง (receptors) การพัฒนายาที่ มีคุณภาพ 11/18/2018
พื้นฐานทางชีวเคมี ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ต้องสามารถแพร่กระจายเข้าไปในสมองจึงจะออก ฤทธิ์ได้ สมอง หนัก 2% ของน้ำหนักตัว มีการไหลเวียนเลือดจากหัวใจ 20% Blood-brain barrier – กลุ่มเส้นเลือดฝอยในสมอง ทำหน้าที่ป้องกันสารต่างๆจากเลือดผ่านเข้าไปทำ อันตรายเซลล์ประสาท ยาที่ผ่าน Blood-brain barrier แล้ว จึงไปออกฤทธิ์เพิ่มหรือลดปริมาณของสารสื่อประสาทเป้าหมาย ด้วย กลไกจำเพาะของยานั้น 11/18/2018
สารสื่อประสาทที่มีความเกี่ยวข้องกับการออกฤทธิ์ของยา Acetylcholine Gamma aminobutyric acid (GABA) Serotonin Noradrenaline/Norepinephrine Dopamine เป็นสารสื่อประสาทที่ยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทที่มีความสำคัญที่สุดในสมอง 11/18/2018
สิ่งที่พยาบาลต้องทำความเข้าใจ กลไกการออกฤทธิ์ของยา ผลการรักษา อาการข้างเคียง อาการที่ไม่พึงประสงค์ วิธีการป้องกันและบรรเทาความไม่สุขสบายจากอาการข้างเคียง วิธีการปฏิบัติเมื่อพบว่าผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากผลข้างเคียงของยา ศ 21สค 58
การบำบัดด้วยยา (Psycho-Pharmacological Therapy) จิตเภสัชบำบัด หมายถึง การรักษาด้วยยาที่ออกฤทธิ์ต่อสมองและระบบประสาท ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic Drugs/Major Tranquilizers) ยาคลายกังวล (Antianxiety Drugs/Minor Tranquilizers) ยาต้านอารมณ์เศร้า (Antidepressant Drugs) ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-Stabilizing Drugs) ยาแก้ฤทธิ์ข้างเคียงของยาทางจิตเวช (Anticholinergic/ Antiparkinson Drugs) ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant Drugs) 11/18/2018
ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic Drugs/Major Tranquilizers) เป็นยาที่ช่วยลดอาการทางจิตโดยตรง นิยมใช้ในผู้ป่วยจิตเภท ผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง ผู้ป่วย หวาดระแวง ผู้ป่วยมีอาการสมองเสื่อม รวมถึงผู้ที่อยู่ในภาวะไม่สามารถ ติดต่อสื่อสารได้ มีความคิดสับสน มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของ dopamine ทำให้การเปลี่ยนแปลงทาง เคมีของสมองเป็นปกติ สมมติฐาน โรคจิตเภทเกิดจากมีการทำงานที่มากเกินไปของสารสื่อประสาท dopamine Dopamine มีหน้าที่ในการควบคุมความคิด อารมณ์ และพฤติกรรมของบุคคล 11/18/2018
ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic Drug) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม - กลุ่มดั้งเดิม(TypicalหรือConventional Antipsychotic Drug) เป็น Dopamine antagonist เช่น Chlopromazine(CPZ), Haloperidol, Largactil, Thioridazine, Melleril, Perphenazine รักษาอาการทางบวกได้ดีกว่า แต่ S/E มาก(EPS) - กลุ่มใหม่ (Atypical Antipsychotic Drug) เช่นClozapine, Olanzapine, Risperidone รักษาได้ดีทั้งอาการทางบวก/ลบ ราคาแพงกว่า แต่ S/E น้อยกว่า•ยาฉีดออกฤทธิ์นาน 1 เดือน แต่มีผลข้างเคียงมากกว่ายากิน 11/18/2018
ยาต้านอาการโรคจิต ข้อบ่งใช้ : รักษาและป้องกันอาการหลงผิด ประสาท หลอน คลุ้มคลั่ง ดุร้าย กลไกการออกฤทธิ์ : ลดระดับ Dopamine โดยการ ปิดกั้นตัวรับ Dopamine (Post-synaptic Receptors) ในสมอง ข้อควรระวัง ควรลดขนาดยาในผู้ที่มีปัญหาเรื่องตับ หรือผู้สูงอายุ 11/18/2018
Brain dopaminergic tracts 2 3 1 4 5 CTZ 6 Lateral hypothalamus
Simplify Neurocircuitry of Dopamine in Schizophrenia Mesolimbic pathway Hyperdopaminergia Mesocortical pathway Hypodopaminergia DA DA Limbic PFCx D2 D1 Negative symptoms Cognitive symptoms Affective symptoms Positive symptoms
Antipsychotic Drugs: Development Timeline Minimal efficacy with regard to positive symptoms in 20-30% of patients Much weaker effect on negative symptoms than positive symptoms Significant parkinsonian symptoms and anticholinergic effects (poor compliance and potentially disabling) Tardive dyskinesia in a minimum of 20% of patients who receive chronic neuroleptic treatment. At least as effective as typical neuroleptics with regard to positive symptoms More effective than typical agents with regard to negative symptoms Much lower incidence of parkinsonian symptoms and anticholinergic effects than typical agents TD does occur but at much lower incidence Elevated risk of metabolic side effects
กลไกการออกฤทธิ์ กลุ่มดั้งเดิม(TypicalหรือConventional Antipsychotic Drug) เป็น Dopamine antagonist (DA) ช่วยควบคุมอาการทางจิตโดยการปิด กั้นการส่งกลับ ของ dopamine receptor ที่ basal ganglia,hypothalamus,limbic system,brain stem,medulla ทำให้อาการ ทางบวกของโรคจิตเภทดีขึ้น 11/18/2018
กลไกการออกฤทธิ์ 2.ยากลุ่มใหม่ (Atypical Antipsychotic Drug หรือ Serotonin - dopamine antagonist (SDA) จะ ปิดกั้น dopamine และ serotonin receptors ทำ ให้อาการทางบวกและอาการทางด้านลบของโรคจิตเภทดีขึ้น ศ 21สค 58
Antipsychotic Drugs กลุ่ม Phenothiazines Chlorpromazine (Largactil, Matzine,CPZ ): ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการคลุ้มคลั่งทุกชนิด เช่น schizophrenia, mania Thioridazine (Melleril): ~ Chlorpromazine อาการข้างเคียงน้อยกว่า มีผลต่อระบบไหลเวียนโลหิตน้อยกว่า Trifluoperazine (Stelazine, Triflazine, Triplex): Perphenazine (Trilafon,Pernazin,Perphisil): Schizophrenia, ลดอาการหลงผิดและประสาทหลอน Fluphenazine (Anatensol,Prolixin): ลดอาการหลงผิดและประสาทหลอน Fluphenazine deconoate Z ( Prolixin D ) 11/18/2018
กลุ่ม Thioxanthenes เช่น Thiothixene (Navane): ผู้ป่วยโรคจิตที่แยกตัวเอง เคลื่อนไหวน้อย ไม่ได้ผลในรายคลุ้มคลั่ง กลุ่มButyrophenones เช่น Haloperidol (Haldol, Halop): ควบคุมอาการตื่นเต้น ก้าวร้าว ประสาทหลอน หลงผิด เช่น ผู้ป่วย Schizophrenia ที่มีอาการก้าวร้าว 11/18/2018
การแบ่งยาต้านโรคจิต ตามpotency ยากลุ่มPotency สูง ได้แก่ Haloperidol ,Trifluopererazine ,fluphenazine bromperidol ยากลุ่มนี้ทำให้เกิด EPS ได้มาก ในขณะที่อาการ anticholinergic อาการง่วง และ postural hypotensionต่ำพบได้น้อย ยากลุ่มPotency ต่ำ ได้แก่ Chlorpromazine Thioridazine ยากลุ่มนี้ทำให้เกิด EPS ได้น้อย ในขณะที่ อาการ anticholinergic อาการง่วง และ postural hypotensionได้มาก 11/18/2018
การแบ่งยาต้านโรคจิต ตามpotency ยากลุ่มPotency ปานกลาง ได้แก่ Perphenazine ยากลุ่มนี้ทำให้เกิดอาการข้างเคียงดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง 11/18/2018
ยาฉีด Fluphenazine deconate 12.5-100 q 2-4 wk. ขนาดในการรักษา ชื่อยา ขนาดในการรักษา ( mg/day) potency ยากิน Chlorpromazine Thioridazine Haloperidol Trifluopererazine Perphenazine 200-600 5-20 5-30 8-64 ต่ำ สูง กลาง ยาฉีด Fluphenazine deconate 12.5-100 q 2-4 wk. ยาฉีด Haloperidol deconate 50-300
ยาต้านอาการโรคจิต (Antipsychotic Drugs/Major Tranquilizers) ระยะเวลาให้ยารักษาโรคจิต 3 สัปดาห์ อาการดีขึ้น maintenance dose ให้ยาเป็นเวลานาน อาจหยุดยาได้เป็นระยะๆ แต่ไม่เกิน 6 เดือน ระยะเวลาให้ยารักษาโรคจิตโดยทั่วไป 3 สัปดาห์ หลังให้ยา ผป.จะมีอาการดีขึ้น ถ้าไม่ดี แพทย์ควรเพิ่มขนาดของยา หรือเปลี่ยนเป็นยาชนิดอื่น ระยะเวลาให้ยาส่วนมากนานเป็นปี หลัก อาการดีขึ้น จะค่อยๆลดลงมาเป็น maintain dose และให้เป็นเวลานาน อาจหลายปี อาจหยุดยาได้เป็นระยะ แต่ไม่ควรนานเกิน 6 เดือน เพราะอาการมักกลับเป็นใหม่ ตั้งต้นให้ยาเหมือนเดิม ศ 21สค 58
อาการข้างเคียงของยา Antipsychotic Extrapyramidal symptoms (EPS) ทำให้เกิดความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว ดังนี้ Parkinsonian like syndrome เช่น การเคลื่อนไหวช้า เดินลากขา หน้าเฉยเมย แสดงความรู้สึกเหมือนใส่หน้ากาก (mask-like face) มือสั่น Acute Dystoniaมีการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อลายบริเวณศีรษะและคอ คอบิดบิดไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือลำตัวบิดไปด้านข้าง กล้ามเนื้อหน้ากระตุก ตาลอยขึ้น ข้างบน Akathisia กระวนกระวาย นั่งไม่ติด ผุดลุกผุดนั่ง เคลื่อนไหวตลอดเวลา มือและแขนสั่น Tardive dyskinesia (TD) จะเกิดหลังจากผู้ป่วยได้ยารักษาโรคจิตเป็นปี มีการขยับของกล้ามเนื้อบริเวณปาก ลิ้น ใบหน้า ปากเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ดูดริมฝีปาก มีการขยับของขากรรไกรทั้งสองข้าง
Acute dystonia
อาการข้างเคียงของยา Antipsychotic Neuroleptic malignant syndrome (NMS) มีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็งร่วมกับอุณหภูมิในร่างกายสูง หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อแตก ความดันโลหิตไม่ สม่ำเสมอ ระดับความรู้สึกตัวลดลง และอาจเสียชีวิตได้ Anticholinergic side effect จะทำให้มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ โดยมีอาการดังนี้ ปากแห้ง คอแห้ง ท้องผูก ปัสสาวะลำบาก ม่านตาขยาย ตาพร่า มองเห็นไม่ชัด Adrenergic side effects ผู้ป่วยมีความดันตก เมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (Orthostatic hypotension )ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะและหน้ามืด มีฤทธิ์ต่อต่อมไร้ท่อ (Endocrine effect) ทำให้มีการหลั่งน้ำนม ประจำเดือนผิดปกติ ความต้องการทางเพศลดลง ในเพศชายอาจจะมี impotence 11/18/2018
อาการข้างเคียงของยา Antipsychotic มีผลต่อผิวหนัง (Skin reaction) อาจจะมีลมพิษหรือผิวหนังอักเสบ ผิวหนังไวต่อแสงแดด ผิวหนังอาจจะไหม้เมื่อถูกแสงแดดหรือสีผิวอาจจะ เปลี่ยนไปโดยเฉพาะในส่วนที่ถูกแสงแดด มีผลต่อตับทำให้เกิดดีซ่านได้ น้ำหนักตัวเพิ่ม ( Weight gain ) ฤทธิ์ต่อระบบการสร้างเม็ดโลหิต จำนวนเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ (Clozapine-induced agranulocytosis) ผู้ป่วยจะมีอาการติด เชื้อง่าย เจ็บคอ มีไข้ 11/18/2018
อาการข้างเคียงของยา Antipsychotic ความต้านทานต่ออาการชักลดลง (Effects on seizures threshold) ผู้ป่วยจะมีอาการชัก ง่ายขึ้น ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชัก ผลต่อตา (ocular effect) มีการเปลี่ยนสีที่ เลนส์ลูกตาและที่ retina ทำให้ตาพร่ามองเห็นไม่ ชัด พบในรายที่ได้รับการรักษาเป็นเวลานาน ศ 21สค 58
Shift in Risk Perception of Antipsychotics Past Areas of Concern Current Medical Realities Diabetes TD Weight Gain Tardive Dyskinesia Prolactin Hyperlipidemia Insulin Resistance Sedation Weight Gain Insulin Resistance Hyper- lipidemia Coronary Heart Disease Sedation CHD Prolactin
บทบาทพยาบาลในการให้ยา ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยารักษาโรคจิต จำเป็นต้องวัดความดันโลหิต ก่อนและหลังให้ยา โดยเฉพาะเมื่อให้โดยการฉีด เนื่องจากยานี้มี ผลข้างเคียงทำให้ความดันโลหิตตกเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ และควรมีการ ทดสอบทางห้องปฏิบัติการ เกี่ยวกับการทำหน้าที่ของตับและ blood count ถ้าผู้ป่วยได้ยาวันละครั้ง ควรให้ยา 1-2 ชั่วโมงก่อนนอน เพื่อส่งเสริมการ นอนหลับของผู้ป่วย และทำให้ผลข้างเคียงของยา รบกวนผู้ป่วยได้น้อย ในขณะหลับ ถ้าผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือในการรับประทานยา ควรให้การฉีดเข้ากล้าม 11/18/2018
บทบาทพยาบาลในการให้ยา 4. อย่าฉีดยาทาง subcutaneous เพราะอาจทำให้ เนื้อเยื่อเกิดความระคายเคือง ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 5. หลีกเลี่ยงการสัมผัสยาน้ำที่เข้มข้นในขณะเตรียมยา อาจจะ ทำให้ผิวหนังเกิดความระคายเคือง 6. ยาน้ำที่เข้มข้น ควรผสมกับน้ำผลไม้หรือน้ำเปล่าอย่างน้อย 60 cc. เพื่อป้องกันเยื่อบุในช่องปากระคายเคือง 7. ยารักษาโรคจิต อาจทำให้ผู้ป่วยจะมีอาการชักง่ายขึ้น ใน ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชัก พยาบาลต้องคอยสังเกต อาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดเพื่อให้การช่วยเหลือ 11/18/2018
บทบาทพยาบาลในการให้ยา 8. ผู้ป่วยที่ได้รับยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ควรให้ยาลดกรด 2 ชั่วโมงก่อนรับยาโรคจิต หรือให้ยาลดกรดหลังจากได้รับยา โรคจิต 1 ชั่วโมง 9. ติดตามประเมิน ผลของการบำบัดอาการทางจิต เช่น อาการ ประสาทหลอน อาการผุดลุกผุดนั่งดีขึ้น การเข้าสังคมดีขึ้น และผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้น ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา 10.สอนผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ พยาบาลต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับการวางแผนการรักษาด้วยยา ขนาด ของยา ระยะเวลาที่ผู้ป่วยได้รับยาแล้วอาการจะดีขึ้น และผลข้างเคียง ของยาที่อาจเกิดขึ้น ผู้ป่วยและญาติจะเป็นต้องได้รับการสอนให้รายงานถึงอาการข้างเคียง ของยาที่ไม่ปกติ และหลีกเลี่ยงรับประทานยาที่แพทย์คนอื่นสั่งให้ รับประทาน 11/18/2018
บทบาทพยาบาลในการให้ยา สอนผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ หลีกเลี่ยงการดื่มสุราและยานอนหลับ ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้ ง่วงซึม และลดการตระหนักรู้ถึงอันตรายในสิ่งแวดล้อม และหลีกเลี่ยงการใช้ยาตัวอื่นในระหว่างได้รับการรักษา ด้วยยารักษาโรคจิต ยาอาจทำให้ง่วงซึม ไม่ควรขับรถหรือทำงานเกี่ยวกับ เครื่องจักรกลที่อาจเป็นอันตรายได้ หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดโดยตรง ถ้าต้องออกไปนอกบ้าน ควรใส่เสื้อแขนยาว หรือกางร่มเพื่อป้องกันผิวหนังไหม้ อย่าเพิ่มหรือลดขนาดยาเอง ควรปรึกษาแพทย์ ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา สอนผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ หลีกเลี่ยงรับประทานยาลดกรด ในระหว่างได้รับยารักษาโรคจิต เพราะอาจทำให้ลด การดูดซึมยารักษาโรคจิต อาการเวียนศีรษะ สามารถเกิดขึ้นได้ ให้ระวังเวลาเดิน หรือเคลื่อนไหว หรือให้ระวัง การลุกขึ้นจากท่านอนเป็นท่านั่ง หรือจากท่านั่งเป็นท่ายืน ให้ค่อยๆทำช้าๆ เพื่อ ป้องกันอาการเวียนศีรษะ ทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม หรือการได้รับบาดเจ็บ แนะนำผู้ป่วยบ้วนปาก จิบน้ำบ่อยๆ และดูแลความสะอาดปากและฟันเพื่อลดความ เสี่ยง การติดเชื้อในช่องปาก 11/18/2018
2. ยาคลายกังวล (Antianxiety/Minor Tranquilizers) มีฤทธิ์ทำให้ประสาทสงบ ลดความวิตกกังวล Generalized anxiety disorder ความกระวนกระวาย ลดอาการตื่นเต้น เครียด รักษาโรคประสาท (Neurotic disorder) จิตสรีรแปรปรวน ผู้ป่วยหยุดสุรา ยา เสพติด ลมชัก ผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง nonphamacologic therapy เช่น การให้คำปรึกษาและให้ กำลังใจ จิตบำบัด เซลประสาททำหน้าที่มากเกินไป โดยเฉพาะ Neocortex GABA 11/18/2018
ยาคลายกังวล (Antianxiety/Minor Tranquilizers) 2 ประเภท Benzodiazepines Nonbenzodiazepines 11/18/2018
Action Profiles of Benzodiazepines Relief of anxiety Anticonvulsant Sedation action Induction of sleep Muscle relaxation Ansseau, M., Doumont, A., Diricq, S.: Methodology required to show clinical differences between benzodiazepines. Curr Med Res Opin 8, Suppl. 4, 108-114 (1984). (Except <Dormicum> and <Dalmadorm>)
Benzodiazepines รักษาอาการวิตกกังวลและความผิดปกติของการนอนหลับ ออกฤทธิ์ที่ระบบประสาทส่วน Neurotransmitter ที่ชื่อ GABA (กดการทำงานของระบบประสาท ส่วนกลาง) ดูดซึมในกระเพาะอาหาร ฤทธิ์นาน 3-4 ชม.ถึง 24-72 ชม. ข้อควรระวัง ง่วงนอน เดินเซ (Ataxia) อารมณ์หงุดหงิดง่าย ติดยา คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ มึนงง เศร้า เมื่อย 11/18/2018
Benzodiazepines Chlordiazepine -(Librium): ฤทธิ์คลายกังวล ลดความกระวน กระวายและก้าวร้าว ผู้ป่วยโรคประสาทชนิดต่างๆที่มีความ วิตกกังวล Diazepam (Valium): ~ Chlordiazepine ฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อ สูงกว่า วิตกกังวล + ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ ปวดหลัง Medazepam (Nobrium): ภาวะกังวลและตึงเครียด Lorazepam (Ativan): ผู้ป่วยฝ่ายกายที่มีปัญหาทางอารมณ์และ จิตใจ ผู้ป่วยที่มีอาการวิตกกังวลร่วมกับอารมณ์ซึมเศร้า อาการนอนไม่หลับและวิตกกังวลดีขึ้น ความก้าวร้าวลดลง ศ 21สค 58
การเลือกใช้ยา Benzodiazepines ต้องการผลรวดเร็ว เลือกใช้ diazepam, clorazepate, alprazolam ผู้ป่วยสูงอายุ lorazepam, oxazepam การใช้ยาขนาดสูงติดต่อกันนานกว่า 4 wk. ทำให้ติดยาได้ง่าย ถ้าหยุดทันทีจะมี withdrawal effect เช่น วิตกกังวล หงุดหงิด นอนไม่หลับ ถ้าเป็นรุนแรงมาก อาจชักได้ ดังนั้นต้องค่อยๆลดขนาดยาลง 11/18/2018
Nonbenzodiazepines ลดความวิตกกังวล ทำให้นอนหลับ ปัจจุบันไม่นิยมใช้ ข้อควรระวัง ง่วงนอน ติดยา ฤทธิ์ยาตกค้าง (ง่วงนอน ไม่สดชื่น) กระวนกระวายสูง (ขาดยา) Barbiturate, Meprobamate, Alcohol, Choralhydrate ศ 21สค 58
อาการข้างเคียง ง่วงซึม เมื่อย หรือ แขนขาไม่มีแรง เดินเซ เกิดอาการลืมแบบ anterograde amnesia คือ ลืม เหตุการณ์ช่วงใกล้ๆที่เกิดขึ้นหลังจากใช้ยาเป็นระยะเวลาสั้นๆช่วงหนึ่ง แต่จำ เหตุการณ์ในอดีตได้ อาการติดยา อาการขาดยาและดื้อยา มีปฏิกิริยาตรงข้ามกับฤทธิ์ของยา มีพฤติกรรมวุ่นวาย อาละวาด นอนไม่หลับ ก้าวร้าว ประสาทหลอน ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา ถ้าผู้ป่วยได้ยาคลายกังวลวันละครั้ง ควรให้ยาก่อนนอน เพื่อ ส่งเสริมการนอนหลับของผู้ป่วยให้ดีขึ้น และผลข้างเคียงจะ ลดลง และจัดให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมต่างๆในเวลากลางวัน 2. ถ้าเป็นยาฉีด ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อให้ลึก และ ค่อยๆเดินยาอย่างช้าๆ เพราะยาอาจทำให้ เนื้อเยื่อเกิดความระคายเคือง และทำให้เกิด อาการปวดตรงตำแหน่งที่ฉีดยา ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา 3. สังเกตประสิทธิภาพของการบำบัดว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่างไร 4. สังเกตผลข้างเคียงของยาที่เกิดขึ้น เช่น อาการง่วงนอน มาก ความดันโลหิตต่ำ ปวดตรงตำแหน่งที่ฉีดยา ผิวหนัง เป็นผื่น และอาการ paradox excitement เช่น ท่าทีไม่เป็นมิตร สับสนมีการเคลื่อนไหวมากกว่า ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา 5. ให้คำแนะนำผู้ป่วยและครอบครัว ดังนี้ พยาบาลต้องบอกผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการ แก้ไข หลีกเลี่ยงการดื่มสุราร่วมกับยาคลายกังวล เพราะสุราจะเพิ่มการ กดประสาทเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ยาอาจทำให้ง่วงซึม ไม่ควรขับรถหรือทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล ที่อาจเป็นอันตรายได้ ให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมาก เพราะทำให้ไปลด ฤทธิ์ของยาที่ทำให้นอนหลับ หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้บ่อยๆ เพื่อป้องกันการเสพติด ศ 21สค 58
ยาต้านอาการซึมเศร้า (Antidepressant Drugs) ความเชื่อทางสรีรวิทยา เชื่อว่าผู้ที่เป็นโรคเศร้า เกิดจากการขาด Norepinephrine หรือ ขาด Serotonin ซึมเศร้า ออกฤทธิ์ยับยั้ง reuptake ของ Norepinephrine และ/หรือ Serotonin กลับเข้าสู่ presynaptic neuron ปริมาณ Norepinephrine และ/หรือ Serotonin เพิ่มขึ้น อารมณ์ดีขึ้น 11/18/2018
ยาต้านอาการซึมเศร้า (Antidepressant Drugs) 4 กลุ่ม กลุ่มดั้งเดิม (Conventional antidepressants) Tricyclic Antidepressant (TCAs) i.e. amitriptyline, imipramine Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs) รุ่นที่สอง (second generation antidepressants) Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs) Bicyclick antidepressants รุ่นใหม่อื่นๆ ได้แก่ tianeptine, nefazodone ยาระงับอาการคลุ้มคลั่งสลับเศร้า (antimanic-depressive disorder) 11/18/2018
Tricyclic Antidepressant (TCAs) รักษาอาการซึมเศร้า นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ขาดสมาธิ รู้สึกไร้ค่า ออกฤทธิ์ เพิ่มระดับของ Norepinephrine และ Serotonin อาการเศร้าลดลง นิยมใช้ในผู้ป่วยโรคเศร้า เด็กปัสสาวะรดที่ นอน (enuresis) Chronic pain, Phobia, Agoraphobia, Panic, Obsessive- Compulsive 11/18/2018
Tricyclic Antidepressant (TCAs) Amitriptyline (Tryptanol/Tripta) ใช้แพร่หลายที่สุด ในผู้ป่วยเศร้า ที่มีความวิตกกังวล กระวนกระวาย หงุดหงิด หรืออารมณ์เศร้าที่ถูกบดบังด้วยอาการทาง กาย เช่น ใจสั่น หน้ามืด เวียนหัว Imipramine (Tofranil) ภาวะเศร้าใน manic depressive วิตกกังวลสูง ปัสสาวะรดที่นอนในเด็ก Nortryptiline (Nortrilen) อารมณ์เศร้า ห้ามใช้ในราย เศร้าที่มีอาการกระวนกระวาย Desipramine (Norpramin) Doxepin (Sinequan) ศ 21สค 58
Tricyclic Antidepressant (TCAs) 1-2 wk. อาการจะดีขึ้น 1-3 mo. อาการจะเป็นปกติ ลดยา maintenance dose ระยะเวลาให้ยา 6-12 mo./หลายปี 11/18/2018
ข้อควรระวัง ห้ามใช้ ต้อหิน (glaucoma) ต่อมลูกหมากโต (prostatic hypertrophy) หญิงตั้งครรภ์ระยะ 3 เดือนแรกและมารดา ระยะให้นมบุตร ห้ามใช้ร่วมกับ MAOIs ฤทธิ์ข้างเคียง Tremors, Drowsiness, Hypotension, Tachycardia, Arrhythmia, ปากแห้ง ท้องผูก ความดันลูกนัยน์ตาสูง ตา มัว ม่านตาขยาย สับสน มึนงง เหงื่อออก 11/18/2018
Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs) ยารักษาอาการเศร้าที่นิยมใช้มาก ได้ผลดีมากในการรักษาพวกอารมณ์เศร้าที่เกิดจากความ วิตกกังวลเฉียบพลัน ความกลัว หรือ ผู้ป่วยที่มีอาการทางกาย หรือ ใช้ยาพวก TCAs ไม่ ได้ผล ภาวะเศร้าจากโรคอารมณ์แปรปรวนแบบ Bipolar Serotonin and Norepinephrine เพิ่มขึ้น อาการเศร้าน้อยลง ศ 21สค 58
Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs) ปัจจุบันกลุ่มนี้เลิกใช้เป็นส่วนใหญ่ ผลข้างเคียงอันตรายถึงชีวิต Isocarboxarid (Marplan), Phenelsine (Nardil) Moclobemide (Aurorix) ยากลุ่มใหม่ ปลอดภัยสูง 11/18/2018
อาการข้างเคียง ปากแห้ง คอแห้ง คลื่นไส้ ตาพร่า มองเห็นไม่ชัดเจน ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง ใจสั่น เวียนศีรษะ เหงื่อ แตก ง่วงซึม ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ น้ำหนักเพิ่ม อาการระคายเคืองของตาและผิวหนัง ระดับทนต่อการชักลดลง จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ความดันโลหิตสูงมาก (MAOIs) 11/18/2018
ข้อควรระวังในการใช้ยาต้านอาการซึมเศร้า กลุ่มMAOIs ในผู้ป่วยที่มีประวัติของ Angina pectoris , pyloric stenosis และ epilepsy ยากลุ่ม MAOIs ถ้าได้รับร่วมกับอาหารที่มีสาร tyramine ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูงอย่างเฉียบพลันเกิดขึ้น ( hypertensine crisis )โดยจะมีอาการความดันโลหิตสูง (ทั้ง systolic diastolic ) ปวดศีรษะ ม่านตาขยาย อัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้น ตัวอย่าง อาหารที่มีสาร tyramine ได้แก่ ชีสเก่าๆ /ตับไก่ / ช็อคโกแลต / เบียร์ /ไวน์ / คาเฟอีน / อาโวคาโด / กล้วย / องุ่นแห้ง / ซีอิ๊ว / อาหาร ที่มียีสต์ / โยเกิร์ต ศ 21สค 58
Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs) Fluvoxamine (Feverin), Fluoxetine (Prozac), Paroxetine (Seroxat), Citalopram (Cipram), Sertraline (Zoloft) มีฤทธิ์ข้างเคียงต่ำ ได้แก่ ไม่มีฤทธิ์ anticholinergic ฤทธิ์ง่วงซึมต่ำ ใช้ได้ปลอดภัยในผู้ป่วยสูงอายุหรือมีโรคทางกาย และไม่ทำให้น้ำหนักเพิ่มมากเหมือน กลุ่ม tricyclic ศ 21สค 58
การเลือกใช้ยาต้านซึมเศร้า ประเภทของยา ความเร็วในการออกฤทธิ์ของยา ระดับความรุนแรงของอาการซึมเศร้า อายุและสุขภาพของผู้ป่วย TCA ที่มีฤทธิ์ในการสงบระงับสูงเหมาะกับผู้ป่วยที่มี Anxious Agitate depression TCA ที่มีฤทธิ์ในการสงบระงับน้อยเหมาะกับผู้ป่วยที่มี Psychomotor withdrawal ต้องการผลในการรักษาเร็ว ควรเลือกใช้ยาในกลุ่มรุ่นที่สอง Amoxapine ผู้ป่วยสูงอายุ เลือกใช้ยาที่มี Anticholinergic activity น้อย ส่วนใหญ่เป็นยาในกลุ่มที่สอง ผู้ป่วยโรคหัวใจ ควรเลือกใช้ยาในกลุ่มที่สอง 11/18/2018
บทบาทพยาบาลในการให้ยา ผลข้างเคียงที่เกิดได้กับยาต้านอาการซึมเศร้าทุกกลุ่ม ได้แก่ 1.1 ปากแห้ง แนะนำให้ผู้ป่วยอมก้อนน้ำแข็ง หรือจิบน้ำบ่อยๆ 1.2 ง่วงซึม แพทย์อาจจะให้เป็นยาก่อนนอนและ แนะนำผู้ป่วย ไม่ควรขับรถหรือทำงานเกี่ยวกับ เครื่องจักรกลที่อาจเป็นอันตรายได้ 1.3 คลื่นไส้ ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหาร เพื่อลดอาการระคายเคืองของกระเพาะอาหาร 11/18/2018
ผลข้างเคียงที่เกิดได้กับยากลุ่ม TCAs 2.1 ตาพร่า ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าอาการจะหายไป หลังจากได้รับยา 2-3 สัปดาห์ แนะนำผู้ป่วยอย่าขับรถจนกว่าอาการตาพร่าจะดีขึ้น ระวังการ พลัดตก - ท้องผูก แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำเพิ่มขึ้นถ้าไม่มีข้อห้าม และกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย ปัสสาวะลำบาก แนะนำผู้ป่วยให้รายงานแพทย์ เมื่อปัสสาวะลำบาก จดบันทึกน้ำดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุลของน้ำ หาวิธีที่จะทำให้ปัสสาสะได้เอง เช่น เปิดก๊อกน้ำในห้องน้ำขณะที่ผู้ป่วยเข้าไปปัสสาวะ หรือเอาผ้าเย็นวางที่ท้องน้อย ความดันโลหิตตก เมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ สามารถเกิดขึ้นได้ ให้ระวังเวลาเดิน หรือเคลื่อนไหว หรือให้ระวังการลุกขึ้นจากท่านอนเป็นท่านั่ง หรือจากท่านั่งเป็นท่ายืน ให้ค่อยๆทำช้าๆ เพื่อป้องกันอาการเวียนศีรษะ ทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม ผู้ป่วยจะมีอาการชักง่ายขึ้น ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชัก ให้สังเกตผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา น้ำหนักตัวเพิ่ม ( Weight gain ) แนะนำผู้ป่วยเรื่องการรับประทานอาหารและให้ออกกำลังกาย ผลข้างเคียงที่เกิดได้กับยากลุ่ม SSRIs 3.1 นอนไม่หลับ แนะนำให้รับประทานยาในตอนเช้า หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน สอนเทคนิคคลายเครียด ให้ผู้ป่วยใช้ก่อนนอน ปวดศีรษะ รายงานให้แพทย์ทราบ น้ำหนักตัวลด ให้รับประทานอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา ความผิดปกติทางเพศ ให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึก ความต้องการทางเพศลดลง รายงานแพทย์ทราบเพื่อให้ การช่วยเหลือ Serotonin syndrome เกิดจากการมี Serotonin activity มากเกินไป ทำให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ปวด ท้อง ความดันโลหิตไม่สม่ำเสมอ (อาจจะสูงหรือต่ำ) เดินเซ สับสน กระวนกระวาย สั่น อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว อาจหมดสติ ได้ ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา ผลข้างเคียงอื่นๆ มีความผิดปกติในการทำหน้าที่ของตับ พยาบาลต้อง ตระหนักรู้ถึงการทำหน้าที่ของตับผิดปกติ เช่น คลื่นไส้ ผู้ป่วยบ่นเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารและ อาการตาเหลือง ตัวเหลือง ศ 21สค 58
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-Stabilizing Drugs) รักษาภาวะคลุ้มคลั่ง Manic phase ในผู้ป่วย Bipolar disorder, Aggressive และผู้ป่วยที่ไม่ สามารถควบคุมตนเองได้ รักษาผู้ป่วยโรค Mania, Schizophrenia affective disorder Obsessive-compulsive disorder (OCD) Antisocial behavior มีคุณสมบัติป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรค (Recurrence) ด้วย ศ 21สค 58
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-Stabilizing Drugs) ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Lithium Carbonate และยาในกลุ่มกันชัก Carbamazepine Acute mania Lithium + Haloperidol Lithium + Lorazepam ศ 21สค 58
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood-Stabilizing Drugs) ลดการกระตุ้นของเซลล์ประสาทและการเก็บกลับของสารสื่อประสาท ระดับของ norepinephrine ในระบบประสาทส่วนกลางลดลง อาการข้างเคียง คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน เหงื่อออกมาก ปวดท้อง มือสั่น มือ-เท้า บวม หน้า บวม ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต และโรค Hypothyroid ศ 21สค 58
Mood stabilizer: Lithium ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ (electrolyte, CBC, T4, TSH, BUN, Cr) ตรวจคลื่นหัวใจ ตรวจการทำงานของไต ปกติ ระดับ Lithium ใน plasma 0.5-1.5 mEq/L ถ้า > 2 mEq/L เกิดพิษรุนแรง อาการข้างเคียง กระหายน้ำ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะมาก อ่อนเพลีย มือสั่น ท้องเดิน เหงื่อออกมาก ปวดท้อง กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการพิษ ท้องเดิน เดินเซ ตาพร่า พูดไม่ชัด ง่วงซึม สับสน เพ้อ ชัก หมดสติหัวใจ หยุดเต้น ตาย ศ 21สค 58
Hypothyroidism อาการข้างเคียง กระหายน้ำ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน ปวดท้อง ปัสสาวะมาก อ่อนเพลีย เหงื่อออกมาก มือสั่น มือ-เท้า บวม หน้าบวม น้ำหนักตัวเพิ่ม ผื่นแพ้ สิว พิษต่อไต Hypothyroidism 11/18/2018
อาการเป็นพิษ ท้องเดิน เดินเซ ตาพร่า พูดไม่ชัด ง่วงซึม สับสน เพ้อ ชัก หมดสติ หัวใจหยุดเต้น ตาย 11/18/2018
บทบาทพยาบาลในการให้ยา การซักประวัติถึงโรคประจำตัว และการตรวจร่างกาย (BP, Hct, Hb, WBC, Bl. dif., BUN, Cr, electrolyte, U/A, serum thyroid function, EKG, serum lithium) ให้กำลังใจ สังเกตอาการข้างเคียง หรือ อาการพิษ ให้ความรู้กับผู้ป่วยถึงอาการพิษ อธิบายถึงสาเหตุการต้องเจาะเลือดบ่อยๆ เตือนห้ามหยุดรับประทานยาเอง แนะนำออกกำลังกาย รับประทานอาหารให้พอเหมาะ ศ 21สค 58
การให้ความรู้กับผู้ป่วย ให้รับประทานยาระหว่างมื้ออาหารหรือหลังอาหารทันทีเพื่อ ลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ควรได้รับน้ำและเกลือโซเดียมอย่างเพียงพอ ไม่ควรงด อาหารเค็ม เพราะเกลือมีผลต่ออาการข้างเคียงของยา หลีกเลี่ยงการดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ห้ามเดินกลางแดด ออกกำลังกายในสภาพอากาศร้อนจัด หรือ ออกกำลังกายมากๆ รับประทานยาอย่างต่อเนื่อง ถ้าเกลือน้อย การ Absorb ของ Lithium จะสูง ศ 21สค 58
Mood stabilizer: กลุ่มยากันชัก ในการรักษาโรคอารมณ์แปรปรวน พบว่ามีผู้ป่วย จำนวนหนึ่งที่ไม่ค่อยตอบสนองต่อการรักษา ด้วย ลิเทียม ต่อมาพบว่า การใช้ยากันชักหรือ ลิเทียมร่วมกับยากันชักได้ผลดีในผู้ป่วยเหล่านี้ Carbamazepine (Tegretal), Valproate (Depakine) ศ 21สค 58
ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant drugs) มักใช้ควบกับยานอนหลับรักษาอาการถอน ยาในผู้ป่วยติดสารเสพติด ป้องกันการชัก อาจใช้รักษาพวกที่มีอาการทางสมอง อุบัติเหตุทางสมอง และโรคลมชัก Valproic acid (Depakine), Phenytoin (Dilantin), Clonazepam (Klonopin), Primidone (Mysoline), Carbamazepine (Tegretal), Ethosuximide (Zarontin) 11/18/2018
ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant drugs) ข้อควรระวัง ผู้ป่วยโรคตับ โรคไต โรคไขกระดูก มารดา ในระยะ ให้นมบุตร ควรตรวจและควบคุมระบบหลอดเลือด สังเกตอาการที่เกี่ยวกับฤทธิ์ของยา ศ 21สค 58
Sodium valproate acid (Depakine ,Valproate ,Valparin) เป็นยาในกลุ่มกันชัก ที่ได้ผลในการปรับอารมณ์ให้คงที่ สามารถนำมาใช้รักษาโรค อารมณ์แปรปรวนแบบสองขั้ว หรือในผู้ป่วยโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ( Agrgressive behavior) High Alert Drug
Sodium valproate acid (Depakine ,Valproate ,Valparin) อาการข้างเคียงที่พบบ่อย ได้แก่ อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร แน่นท้อง ท้องเสีย ง่วงซึม พบได้บ่อยในช่วงแรก มือสั่น น้ำหนักเพิ่ม หรือผมร่วง (มักเป็นชั่วคราว)
Sodium valproate acid (Depakine ,Valproate ,Valparin) อาการข้างเคียงที่อาจเป็นอันตราย เช่น ผื่นคัน , ตัวตาเหลือง , ปวดท้อง, คลื่นไส้/อาเจียน , เป็นจ้ำเขียว/เลือดออกง่าย หากพบอาการตัว ตาเหลือง เป็นจ้ำเขียว/เลือดออกง่าย แนะนำให้ หยุดยาและไปพบแพทย์ก่อนนัด หากพบว่าผู้ป่วยตั้งครรภ์โดยเฉพาะในระยะไตรมาสแรก แนะนำ ให้หยุดยาทันทีและมาพบแพทย์ก่อนนัดเพื่อพิจารณาปรับ แผนการรักษา การให้คำแนะนำ หากผู้ป่วยหญิงวางแผนที่จะมีบุตร แนะนำให้ปรึกษาแพทย์ก่อน 11/18/2018
Carbamazepine (Tegretal ,carbazene) เป็นยากันชักที่นำมาใช้รักษาโรคอารมณ์แปรปรวน หรือในโรคจิตที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง อาการข้างเคียงที่พบบ่อย ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน พบได้ในช่วงแรกของการรักษา ง่วงซึม เดินเซ หรือเห็นภาพซ้อน สัมพันธ์กับขนาดยาที่สูง อาการสับสนในผู้ป่วยสูงอายุ อาการที่เกิดจากตับอักเสบ อาการทางผิวหนัง ได้แก่ ผื่น โดยเฉพาะ Stevens Johnson syndrome ซึ่งถือเป็นอาการข้างเคียงที่มีอันตรายถึง ชีวิตได้ ศ 21สค 58
ยาแก้ฤทธิ์ข้างเคียงของยาทางจิตเวช (Anticholinergic/ Antiparkinson Drugs) อาการข้างเคียงจาก Antipsychotic drug Parkinsonism ตัวแข็ง ลิ้นแข็ง น้ำลายไหล ใช้แก้อาการ Extrapyramidal ที่เกิดจากการให้ยา Antipsychotic ลดการหลั่งน้ำลาย อาการ สั่น (tremors) Benztropine (Cogentin), Trihexyphenidyl (Artane, Aca, Benzhexol, Benz), Diphenhydramine (Benadryl) 11/18/2018
อาการข้างเคียง ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัว ตัวร้อน ผิวหนังบริเวณหน้าและคอร้อน แดง คลื่นไส้ เวียนศีรษะ ง่วงซึม อ่อนเพลีย สับสน ไม่รู้วันเวลาและสถานที่ (ผู้สูงอายุ) ความดันโลหิตต่ำกะทันหันเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ ศ 21สค 58
บทบาทพยาบาลในการให้ยา ให้ยาหลังอาหารทันที สังเกตประสิทธิภาพของยา สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง เช่น การทรงตัว การพูด ความสามารถ ในการดูแลตนเอง ดูแลระมัดระวังอุบัติเหตุ สอนให้ผู้ป่วยดูแลระมัดระวังตนเอง ดื่มน้ำ ให้เพียงพอ ตรวจวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ แนะนำให้ผู้ป่วยเปลี่ยน อิริยาบถช้าๆ ศ 21สค 58
สาเหตุที่ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง Non Compliance ไม่สุขสบายจากอาการข้างเคียงของยา โรค Schizophrenia เมื่อหยุดยาช่วงแรก อาจจะรู้สึกดี ขึ้น จึงทำให้ผู้ป่วยคิดว่าหายดีแล้ว การรับประทานยามีความหมายสำหรับผู้ป่วยว่ายังไม่ หายจากโรค จึงไม่ยอมรับประทานยา ศ 21สค 58
หลักการพยาบาลที่ใช้ยาเพื่อการบำบัดทางจิต ให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างถูกต้องและปลอดภัย การประเมินสภาพผู้ป่วย การวางแผนให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ถูกต้องและ ปลอดภัยตามแผนการรักษาพยาบาล ให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างต่อเนื่อง สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อและวัฒนธรรม ให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถจัดการกับปัญหาที่มาจากการใช้ยา ให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างถูกต้องและปลอดภัย การประเมินสภาพผู้ป่วย : ประวัติการเจ็บป่วย ประวัติการรักษา อาการข้างเคียงที่เคยเกิดขึ้น การสนับสนุนของครอบครัว การรับรู้ของผู้ป่วยและครอบรัว ความรู้ของผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการรักษาด้วยยา การวางแผนให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ถูกต้องและปลอดภัยตามแผนการรักษาพยาบาล : พยาบาลต้องมีความรู้เกี่ยวกับประเภทของยา ประสิทธิภาพของยา อาการข้างเคียงของยา ยา p.r.n. ให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่างต่อเนื่อง สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม: สถานภาพสมรส จำนวนและชนิดของยาที่ได้ ค่านิยมเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ ความเชื่อและวัฒนธรรม: ความเชื่อและทัศนคติของผู้ป่วยที่มีต่อความเจ็บป่วยและการรักษาที่ไม่ถูกต้องของผู้ป่วยและครอบครัว มีอิทธิพลทำให้ผู้ป่วยปฏิเสธการรับประทานยา เชื่ออำนาจภายนอก สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศ 21สค 58
แนวทางการใช้ยาทางจิตเวช ถูกโรค (right diagnosis) ถูกชนิด (right drug) ถูกขนาด (right dose) ถูกเวลา (right time, right duration) ถูกทาง (right route of administration) ถูกใจ (right choice for patients) ถูกเงิน (right for economic reason) ศ 21สค 58
Holistic care HUMAN Environment 11/18/2018
องค์ประกอบของ Milieu Therapy สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อมด้านบุคคล สัมพันธภาพระหว่างบุคคล กิจกรรม 11/18/2018
กระบวนการพยาบาล ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูล ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม 11/18/2018
กระบวนการพยาบาล ขั้นที่ 2 วิเคราะห์และวางแผนการพยาบาลโดยกำหนดข้อวินิจฉัย วัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล เช่น ข้อที่ 1 เสี่ยงต่อการทำร้ายผู้อื่นและได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความคิดหวาดระแวงว่าผู้อื่นจะทำร้าย วัตถุประสงค์.................................................... เกณฑ์การประเมินผล...................................... 11/18/2018
กระบวนการพยาบาล ข้อที่ 2 ขาดการติดต่อกับบุคคลอื่นในโลกของความเป็นจริง เนื่องจากหมกมุ่นอยู่กับการรับรู้ในโลกของตนเอง วัตถุประสงค์.................................................... เกณฑ์การประเมินผล...................................... กิจกรรมการพยาบาล...................................... 11/18/2018
กระบวนการพยาบาล ขั้นที่ 3 ปฏิบัติการตามแผนการพยาบาล ให้การพยาบาลตามแผนการที่วางไว้ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายต่างๆ ในการส่งเสริมความเจริญ และพัฒนาการของผู้ป่วยแต่ละคน ขั้นที่ 4 ประเมินผลการพยาบาล โดยการประเมินผลตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี 11/18/2018
ตัวอย่าง การพยาบาลผู้มีปัญหาทางอารมณ์ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล เสี่ยงต่อการทำร้ายผู้อื่น และได้รับบาดเจ็บเนื่องจากความคิดหวาดระแวงว่าผู้อื่นจะมาทำร้าย วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการทำร้ายผู้อื่นและถูกผู้อื่นทำร้าย เกณฑ์การประเมินผล 1. ตัวผู้ป่วยไม่ได้รับอันตราย ไม่มีบาดแผล 2. บุคคลอื่นไม่ได้รับอันตรายจากพฤติกรรมของผู้ป่วย 11/18/2018
ตัวอย่าง การปฏิบัติการพยาบาล ตรวจสอบความปลอดภัย เพื่อป้องกันไม่ให้มีอุปกรณ์ที่เป็นอาวุธได้ อธิบายถึงกิจกรรมที่จะทำให้กับผู้ป่วยทุกครั้ง เพื่อให้รับรู้ เข้าใจสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง กำหนดตารางกิจกรรมที่ผู้ป่วยมีส่วนร่วมให้ชัดเจน เพื่อให้รับรู้กิจกรรมที่กำหนดไว้แน่นอน ป้องกันไม่ให้ผู้อื่นที่วุ่นวายเข้าใกล้ผู้ป่วย เพื่อลดสิ่งกระตุ้นที่ส่งเสริมความคิดหวาดระแวง 11/18/2018
ตัวอย่าง Present reality เมื่อผู้ป่วยแปลความผิด เป็นการยอมรับตัวผู้ป่วย และส่งเสริมให้อยู่ในโลกความจริง ไม่แสดงกิริยาที่เป็นความลับ หรือลึกลับ เพื่อไม่เป็นการส่งเสริมภาวะหวาดระแวง จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ แสงสว่างเพียงพอ เพื่อลดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้มีอาการกำเริบ 11/18/2018
Body restraints, Isolation and Seclusion 18/11/61
Body restraints, Isolation and Seclusion การเข้าควบคุมตัวผู้ป่วยคนเดียว 18/11/61
Body restraints, Isolation and Seclusion รูปประกอบ บรรยาย 1. ใช้มือข้างที่เราถนัดจับมือผู้ป่วยในลักษณะนิ้วหัวแม่มือ จับอยู่บนหลังมือผู้ป่วย ส่วนนิ้วที่เหลือจับที่ฝ่ามือ 2. ใช้มือข้างซ้ายจับบริเวณใต้ข้อศอกแล้วดันขึ้น 18/11/61
18/11/61
Body Restraints, Isolation and Seclusion เป็นการบำบัด รักษาผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยทางจิตอย่างหนึ่ง ที่อยู่ในรูปแบบการ บำบัดทางกาย (Somatic Therapy) ซึ่งต่างจากวิธีอื่นๆ แต่วิธีการนี้อาจทำให้เกิดเจตคติในทางลบของผู้ป่วยต่อ ผู้ปฏิบัติได้ จึงควรใช้ให้น้อยที่สุด ระยะเวลาสั้นที่สุด และควร ใช้เป็นวิธีสุดท้าย 18/11/61
การบำบัดรักษาด้วยวิธีการนี้เป็นหน้าที่โดยตรงของ พยาบาลที่จะดำเนินการ รวมถึงให้การดูแลในระหว่างที่ผู้ป่วย ถูกผูกยึด อยู่ในห้องแยก หรือห้องกักกัน จนกว่าการรักษาด้วย วิธีนี้จะสิ้นสุดลง 18/11/61
The American Psychiatric Association ได้กำหนดข้อบ่งชี้ ในการปฏิบัติไว้ ดังนี้ เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับผู้ป่วยและบุคคลอื่น เพื่อป้องกันการทำลายสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อคงไว้ซึ่งพฤติกรรมบำบัด (Behavioral Therapy) เพื่อลดสิ่งเร้าที่เป็นตัวกระตุ้นผู้ป่วยให้มีพฤติกรรมมากขึ้น เป็นความต้องการของผู้ป่วย 18/11/61
18/11/61
18/11/61
The End