สังคมวิทยาอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
Advertisements

1 Utilization of New Trade Lanes in CLM : Synchronization of Practices and Regulations Dr.Tanit Sorat Vice Chairman of Federation of Thai Industries (F.T.I.)
Strategic management Internal Environment
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
CNG for Industry (NGV-NGR Cooperation Project)
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
New Chapter of Investment Promotion
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
แนวโน้มการพัฒนากำลังคน สู่อนาคต
สิทธิประโยชน์การลงทุน ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การใช้เครื่องมือการจัดการในองค์การภาครัฐ
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
โครงสร้างโลก.
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
สรุปรายงานการติดตามผลโครงการสะเต็มอบรมครูผ่าน ETV และ DLTV (ระยะที่ 1)
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
“สัมมนา 1 (Seminar I)” Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจท่องเที่ยว จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ.
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
การผลิตและการจัดการการผลิต
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
The Association of Thai Professionals in European Region
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
Logistics : a Key for Thailand’s Food Hub การสัมมนา “Food Challenges Toward AEC” (Bitec Bangna) โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม Industrial Sociology 8 : 27 ต.ค. 61

ประวัติการพัฒนา อุตสาหกรรมไทย แนวโน้มอุตสาหกรรมของ ประเทศไทย

ประวัติการพัฒนา อุตสาหกรรมไทย สุโข ทัย กรุงศรี อยุธยา กรุง รัตนโกสิน ทร์ ที่มา: กระทรวง อุตสาหกรรม, 2556

ใช๎ในครัวเรือน และสํงออก สุโขทัย (1792-1981) มีการ ผลิต “ชามสังคโลก” ใช๎ในครัวเรือน และสํงออก

ชามสังคโลกสมัยสุโขทัย เครื่องปั้นดินเผา เคลือบ ผิว ตกแตํง ลวดลาย อุณหภูมิประมาณ 1,150- 1,280 องศา เซลเซียส ศรีสัชนาลัย สุโขทัย

กรุงศรีอยุธยา (1893-2310) เกิดนัก อุตสาหกรรมยุค แรก “ทำมีด อรัญญิก” กรุงศรีอยุธยา (1893-2310) เกิดนัก อุตสาหกรรมยุค แรก เชํน อาชีพช่าง ตีเหล็ก “ทำมีด อรัญญิก” ช่างทอง ช่าง ปั้นหม้อ

กรุงรัตนโกสินทร์ (2325-ปัจจุบัน) กรุงรัตนโกสินทร์ (2325-ปัจจุบัน) รัชกา ลที่ 1- 3 จัดตั้งโรงสีข้าว โรง สุรา ร ญกษาปณ์ รัชกา ลที่ 4 มีโรงพิมพ์ โรงเลื่อย จักร รัฐจัดตั้งโรงผลิต เหรียญกษาปณ์ รัชกา ลที่ 5 อุตสาหกรรมขนาดย่อมใน ภูมิภาค เช่น การทอผ้า หล่อ พระพุทธรูป ทำเหมืองแร่ดีบุกในภาคใต้

กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกา ลที่ 6 พ. ศ. 245 6 สร้างโรงงานปูนซีเมนต์แห่ง แรก ในประเทศไทย ณ ตำบลบางซื่อ จังหวัดพระนคร บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด ตัดสินใจ ก่อตั้งขึ้นตามเจตนารมย์ของ รัชกาลที่ ภาคเอกชนจากต่างชาติเข้า มาลงทุน สร้างโรงงานผลิตบุหรี่ โรงงานน้ำแข็ง โรงงานน้ำอัดลม โรงงานสบู่ พ. ศ. 246 1 6 พ. ศ. 246 2 พ. ศ. 246 6 รัฐก่อตั้งโรงงานผลิตกระดาษ ที่ตำบลสามเสน โดยกรมแผนที่ กระทรวงกลาโหม

กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาล ที่ 7 รัชกาล ที่ 8 พ.ศ. 2475 รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา แถลงนโยบาย ด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นครั้งแรก เกิดบริษัท บุญรอดบริ วเวอรี่ จากัด เป็น กิจการทำเบียร์ พ.ศ. 2477 รัชกาล ที่ 8 พ.ศ. 2482 รัฐตรา พรบ.โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นกฎหมายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมฉบับแรก สถานปนากระทรวง อุตสาหกรรม เพื่อเร่งรัดการพัฒนา อุตสาหกรรม เชํนเดียวกับชาติมหาอำนาจ ตะวันตก พ.ศ. 2485

กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 9 พ. ศ. 249 7 กํอสร๎างโรงงานต๎น แบบโดยรัฐ พ. ศ. 249 7 สํงเสริมการลงทุน ออก พรบ.สํง เสริมการลงทุน และจัดตั้งคณะกรรมการสํง เสริมการลงทุน กํอตั้งอุตสาหกรรมรถยนต์ บริษัท ฟอร์ดมอเตอร์ (ประเทศ ไทย) จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมแหํง แรกที่บางชัน พ. ศ. 250 4 พ. ศ. 251 0

กรุงรัตนโกสินทร์ ยุค อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี พ. ศ. 251 5 ก๎าวสูํการผลิตเพื่อการสํงออก อุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิคส เชํน โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ เครื่องเลํนวิดีโอ เป็นประเทศผู๎สงออกเสื้อผ๎า เครื่องนุํงหํ รองเท๎า อันดับต๎น ๆ ของโลก ม ยุค อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี พ.ศ. 2521 รัฐกอตั้งการปิโตรเลียมแหํง ประเทศไทย (บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) มีโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง ภาคตะวันออก ณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตา พุด พ.ศ. 2528

กรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุ บัน พ.ศ. 2534 ปฏิรูปนโยบายอุตสาหกรรม พ.ศ. 2534 ปฏิรูปนโยบายอุตสาหกรรม เปิดเสรีการตั้งและขยายโรงงาน การลงทุน กลายเป็นผู้ส่งชิ้นงานป้อน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ปัจจุ บัน พัฒนาสู่ฐานอุตสาหกรรมของ ภูมิภาคเอเซีย มีกาลังการผลตปูนซีเมนต์มากที่สุดใน อาเซียน เป็นฐานการผลิตฮาร์ดไดรฟ์ อันดับ 2 ของ โลก เป็นฐานการผลิตยานยนต์ของภูมิภาค เอเซีย อันดับ 12 ของโลก

ประเด็นสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง 1. การเปลี่ยนแปลงสำคัญระดับโลก - กฎ กติกาใหม่ของโลกส่งผลให้ทุกประเทศต้องปรับตัว - การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง รวมทั้งภูมิภาค เอเชียทวีความสำคัญเพิ่มขึ้น - การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลกอย่างต่อเนื่อง - การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลให้สภาพภูมิอากาศ แปรปรวน - ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโน้ม เป็นปัญหาสำคัญ - ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งตอบสนองต่อการดำรงชีวิต - การก่อการร้ายสากลเป็นภัยคุกคามประชาคมโลก

ประเด็นสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง 2. การเปลี่ยนแปลงสำคัญระดับประเทศ - การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านเศรษฐกิจ : อัตราการขยายตัวและ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอยู่ในเกณฑ์ดี - การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านสังคม : ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ - การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : ทุนทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ : ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น แต่ความขัดแย้งทางการเมือง ความไม่สงบ

ความสาคัญของการพัฒนา อุตสาหกรรม

G DP ประเทศ ไทย ปี 255 5

กลุ่มที่มีศักยภาพสูง (Potential Industries) ศักยภาพของกลุ่ม อุตสาหกรรม กลุ่มที่มีศักยภาพสูง (Potential Industries) o ความสามารถในการแข่งขันและ ความน่าสนใจสูง o ศักยภาพด้านการผลิตและ การค้าที่สูงกว่า o สัดส่วนความต้องการใน ตลาดโลกที่สูงมาก

ศักยภาพของกลุ่ม อุตสาหกรรม กลุ่มที่ต้องพัฒนา (Improving Industries) o ศักยภาพด้านการผลิตและการค้า และสัดส่วนความ ต้องการในตลาดโลกในระดับปาน กลาง กลุ่มที่ต้องปรับปรุง (Survival Industries) o ศักยภาพด้านการผลิตและการค้า และสัดส่วนความ ต้องการในตลาดโลกในระดับต่ำ

กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอยู่ ในปัจจุบัน กลุ่มที่มี ศักยภาพสูง กลุ่มที่ต้อง พัฒนา กลุ่มที่ต้อง ปรับปรุง  อุตสาหกรรมยาน ยนต์  อุตสาหกรรมปิโตร เคมีและ (Potential Industries) • านยนต์ทะเล • ทะเล  อุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร  อุตสาหกรรม เครื่องดื่ม (Improving Industries)  อุตสาหกรรม เครื่องจักร (Survival Industries) อุตสาหก รรม พลาสติก  อุตสาหกรรมเคมี  อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์  อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยาง อุตสาหกรรมเหล็ก และเหล็กกล้า  อุตสาหกรรมปลาและ อาหาร ทะเลกระป๋อง  อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เหล็ก ทางรถไฟ และ เครื่องบิน  อุตสาหกรรม กระดาษ  อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์นม  อุตสาหกรรมยา  อุตสาหกรรมสิ่งทอ แฟชั่น  อุตสาหกรรมเครื่อง ใช๎ไฟฟ้า อุตสาหกรรม เครื่องใช้ในบ้าน และสา นักงาน  อุตสาหกรรมข้าว  อุตสาหกรรมน้าตาล อุตสาหกรรม เนื้อสัตว์  อุตสาหกรรม ชิ้นส่วนเรือ  อุตสาหกรรมแรํ อโลหะ  อุตสาหกรรม ยาสูบ  อุตสาหกรรมแปรรูป ผักและผลไม้  อุตสาหกรรม อาหารสัตว์ และสัตว์ปีก ที่มา: ภาพรวมและแนวโน้มอุตสาหกรรมในประเทศไทย ส่านักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

การจัดกลุ่ม อุตสาหกรรมปัจจุบัน

และวัตถุดิบจาก ต่างประเทศ มีคุณภาพและต้นทุนถูก ลง กลุ่มอุตสาหกรรมสร้าง โอกาสใหม่ (New Wave Industries) กลุ่มอุตสาหกรรมที่คานึงถึง ความเชื่อมโยงระหวําง สาขาเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ บริการ เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็ง ของระบบเศรษฐกิจ ภายในประเทศ และลดการพึ่งพา เทคโนโลยี และวัตถุดิบจาก ต่างประเทศ อุตสาหกรรม stem cell การแพทย์มี ความก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้อุตสาหกรรม บริการทาง อุตสาหกรรม embedded technology เช่น RFID ทำ ให้บริการโลจิสติกส์ มีคุณภาพและต้นทุนถูก ลง

กลุ่มอุตสาหกรรมสร้าง โอกาสใหม่ (New Wave Industries) กลุ่ม อุตสาหกรรม ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต จากการวิเคราะห์ แนวโน้ม ความต้องการของตลาด ทั้งภายในและโลก อุตสาหกรรมเอทานอล รรมเอทา นอล อุตสาหกรรม พลาสติก ชีวภาพย่อยสลายได้

กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ ในการพัฒนา จำนวน 13 อุตสาหกรรม สิ่งทอ อุตสาหก รรม อุตสาหก รรม แปรรูป ผักแล แปรรูปผัก และ อุตสา ยาน ยนต์ อุตสาหก รรม อุตสาหก รรม เหล็ก และ เอทา นอล อุตสาหก รรม ผล ไม๎ อุตสาหก รรม เคมีภัณฑ์ อุตสาหก รรม เหล็กก ล้า อุตสาหก รรม กระด าษ อุตสาหก รรม อุตสาหก รรม พลาส ติก ปิโตรเคมี และ อุตสาห กรรม ผลิตภัณ ฑ์ยาง อุตสาหกร รมปลาและ อาหาร ทะเล กระป๋อง อิเล็กทร อนิกส์ พลาส ติก ชีวภ าพ และครื่ องใช๎ไฟฟ้า อุตสาหก รรม ยา

อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและ พลาสติก อุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่มผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกเข้ามาตั้งฐานการ ผลิตในไทยเพื่อการส่งออก เป็นฐานการผลิตรถยนต์และชิ้นยาน ยนต์ในภูมิภาคเอเชีย อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและ พลาสติก  ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีหลัก (Ethylene) รายใหญ่เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน  เป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานที่สาคัญ เพราะเป็น วัตถุดิบสาหรับการผลิต ของอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ จานวนมาก

มีกระบวนการผลิตที่ ครบวงจร อุตสาหกรรม สิ่งทอ  มีกระบวนการผลิตที่ ครบวงจร กํอให๎เกิดการจ๎างงานสูงถึง 1.08 ล้านคน งานในภาคอุตสาหกรรม ของประเทศ หรือร้อยละ 20 ของการจ้าง  ทำรายได้เงินตราต่างประเทศปีละกว่า 5,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์  ไตรมาสที่ 1 ปี 2556 การสํงออกมีมูลค่า 58,159 ล้านบาท สินค้าส่งออกที่สาคัญ คือ เคมีภัณฑ์อินทรีย์ อนินทรีย์ สารลดแรงตึงผิว การการนาเข้ามีมูลค่า 109,519 ล้านบาท เคมีภัณฑ์ที่มีการนำเข้า คือ เคมีภัณฑ์ขั้น พื้นฐาน ร้อยละ 58.60 และเคมีภัณฑ์ขั้นปลาย ร้อยละ 41.40 

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และ เครื่องใช๎ไฟฟ้า  ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะ HDD ที่สาคัญของญี่ปุ่นและเกาหลี  คาดว่าในปี 2020 จะเป็นสังคมที่ เรียกว่า Everything Digit al อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมพื้นฐานที่มีความ สาคัญในการพัฒนา ประเทศ เพราะผลิตภัณฑ์ เหล็กถูกนาไปใช้เป็นปัจจัยในอุตสาหกรรม ต่อเนื่อง เช่น ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหาร กระป๋อง ก่อสร้าง และอื่น ๆ

อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ประเทศไทยเป็นผู๎ผลิตและสํงออก ยางพารารายใหญํ ที่สุดของโลก อุตสาหกรรมแปรรูป สับปะรด ประเทศไทยส่งออก สับปะรดกระป๋อง น้ำ สับปะร ด น้ำสับปะรดเข้มข้น เป็น อันดับ 1 ของโลก

อุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ประเทศไทย จานวนมาก อุตสาหกรรมกระดาษ กระดาษยังคงเป็นที่ต๎องการใช๎ในชีวิตประ จาวันของผู๎บริโภค อีกทั้งยังมีความต้องการใช้ในภาคการผลิต โดยเฉพาะอุตสาหกรรมแปรรูป อาหาร และเครื่องใช๎ไฟฟ้า แหลํงสํงออกที่สาคัญ ได้แก่ มาเลเซีย เวียดนาม และจีน อุตสาหกรรมปลาและอาหารทะเล กระป๋อง เป็นอุตสาหกรรมอาหารซึ่งมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อ ความเจริญเติบโตของ ระบบเศรษฐกิจทั้งในแง่ของ การบริโภค การจ้าง งาน และการผลิต จึงเป็น อุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ประเทศไทย จานวนมาก

อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ อุตสาหกรรมเอทานอล การพัฒนาเอทานอล เป็นหนึ่งในเป้าหมายหลักของ ยุทธศาสตร์การ พัฒนา พลังงานทางเลือกของไทย เพราะมีศักยภาพใน การผลิตวัตถุดิบที่ เพียงพอ ปัจจุบันรัฐบาลเร่งให้มีการนาเอาเอทา นอลมาผสมในน้ำมันเบนซิน ออกเทนร้อยละ 10 หรือ E10 อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ การใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกยอยสลายทาง ชีวภาพของโลกกำลัง ขยายตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยคาดว่าอุป สงค์ทรัพยากรวัสดุมวล ชีวภาพนั้นสูงกว่าพลาสติกจากปิโตรเคมีถึง1,000 เท่า

อุตสาหกรรมยา ปริมาณการผลิตไม่เพียงพอต่อความ ต้องการบริโภคภายใน ทำให้ต้องนำเข้าจากประเทศ โดยส่วนใหญ่ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ประเทศไทย ไม่สามารถผลิตได้เองภายในประเทศ เช่น โรค ความดัน เบาหวาน หัวใจ และไขมันในเส้นเลือด และมีแนวโน้มสูงขึ้น

แนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรมในอนาคต เน้นการ ผลิตที่ใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม มีระบบการจัดการมลพิษทาง อากาศ ทางน้ำ กากของเสีย อันตราย ด้วยการปรับระดับมาตรฐาน สิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับ สภาพเศรษฐกิจ สังคม และคุณภ เพื่อสะท้อนหลักการผู้ก่อมลพิษ เป็นผู้จ่าย (PPP) าพชีวิตของคน ในพื้นที่

กลยุทธ์ในการขับเคลื่อน พัฒนาอุตสาหกรรม กระบวนการผลิต (Process) ผลิตภัณฑ์ (Products) การตลาด (Market)

กลยุทธ์ในการขับเคลื่อน พัฒนาอุตสาหกรรม เน้นความสมดุล Balance การสร้างมูลค่า ในบริบท ของไทย Value creation ปรับพฤติกรรม term loss Short-term gain/Long- กำหนดขีดความสามารถ หลัก Core competency ความ เชื่อมโยง

กลยุทธ์ในการขับเคลื่อน พัฒนาอุตสาหกรรม พึงพาวัตถุดิบ ความรู้และ การผลิตที่ เชื่อมโยง ในประเทศ นวตกรรม เป็นไทย แรงงาน คำนึงถึงความ ประสิทธิภาพ ผลกระทบ การใช้ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร

กลยุทธ์ในการขับเคลื่อน พัฒนาอุตสาหกรรม พัฒนาองค์ความรู้ อนุรักษสิ่งแวดล้อมและ ประหยัดพลงงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์ ส่งเสริมให้เกิดเครือข่าย วิสาหกิจและนวตกรรม ส่งเสริมการลงทุนเชิงรุก

อุตสาหกรรมบนพื้นฐาน องค์ความรู้ แนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรม ใ น 20 ปี ข้างหน้า  การสร้างสรรค์คุณค่าใน  การสร้างสรรค์คุณค่าบนพื้นฐานของ  ผลิตภัณฑ์สี อุตสาหกรรมเป้าหมาย นวัตกรรมและทรัพยากรในประเทศ  แชมป์สินค้า  ยุทธศาสตร์ เขียวและการผลิตที่ สะอาด สำหรับอาเซียน + 6 เขตอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เขตอุตสาหกรรมเพื่อสังคม  สายพานการผลิต ของอาเซียน  เขตอุตสาหกรรม การเกษตร  เขตอุตสาหกรรม East – West Corridor  มุ่งเน้นความร่วมมือ ในอาเซียน  จัดตั้งเขตอตสาหกร รมเชิง ยุทธศาสตร์  ระยะที่ 2 (2553- 2557) อุตสาหกรรม นวัตกรรม ระยะที่ 3 (2553-2573) อุตสาหกรรม ยั่งยืน ระยะที่ 1 (2553-2554) อุตสาหกรรมบนพื้นฐาน องค์ความรู้ ที่มา:กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม, 2553