เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ (eTourism) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์ URL: http://www.huso.buu.ac.th/rewat e-mail: rewat@buu.ac.th
การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ (eTourism) การผสมผสาน (combination) หลักการทำธุรกิจด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต (internet technologies) เข้ากับการท่องเที่ยว การใช้เทคโนโลยีเว็บ เทคโนโลยีการสื่อสาร (เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ โทรสาร คลิปวีดีโอ แผ่นพับอิเล็กทรอนิกส์) เครื่องมือสืบค้น (search engines) ระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่ปลอดภัย ร่วมกับระบบการจองอิเล็กทรอนิกส์ ในการดำเนินธุรกิจการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ คือ การรวมกันของการบริหารธุรกิจ (Business Management) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication Technologies: ICTs) และการท่องเที่ยว (Tourism) การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ (Digitalization of tourism) รวมถึง การวางแผนการพักผ่อน (vacation planning) กระบวนการจองที่พัก (reservation hospitality processes) และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (affiliated activities) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในกระบวนการท่องเที่ยวมีเป้าหมายเพื่อการทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล (efficiency/ effectiveness) ในการท่องเที่ยว ที่มา: http://www.dgroups.org/groups/swopnet/docs/F_Kamuzora_SWOPnet_eTourism_presentation.ppt http://edac.ca/html/awards2006/JMaranucci.ppt http://www.csd.abdn.ac.uk/~fguerin/teaching/CS5038/assessment/essays_from_2006/groupL/GroupLdev_country.ppt
การท่องเที่ยว (Tourism) ความสัมพันธ์ระหว่างอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและเทคโนโลยีสารสนเทศ (TWO SPECIAL INDUSTRIES) การท่องเที่ยว (Tourism) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ใช้สารสนเทศมากทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ (Highly information Intensive) เทคโนโลยีเชื่อมโยงหลากหลายอุตสาหกรรม (Connecting technology for a heterogeous industry) ที่มา: Sheldon, Pauline J. 2009. Tourism Information Systems.
ขอบเขตของการท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ (eTourism domains) การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ คือ กระบวนการ (processes) และห่วงโซ่มูลค่า (value chains) ที่เป็นดิจิทัล (digitalisation) ทั้งหมด ทั้งระบบการท่องเที่ยว (tourism system) การเดินทาง (travel) ที่พัก (hospitality) และอุตสาหกรรมจัดเลี้ยง (catering industries) ธุรกิจ (Business) การจัดการ (Mgt) การตลาด (Marketing) การเงิน (Finance) eTourism เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ (IT/IS) ระบบสารสนเทศ (Info. Systems) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICTs) ระบบโทรคมนาคม (Telecomms) การท่องเที่ยว (Tourism) การขนส่ง (Transport) การเดินทาง (Travel) ที่พัก/การต้อนรับ (Hospitality) การผักผ่อน (Leisure) มรดก (Heritage)
ภาววิทยา (ความจริง) ของการท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ (E-Tourism Ontology) การท่องเที่ยว คือ อาณาเขต/บริเวณที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยข้อมูล (data rich domain) ภาววิทยา (ontology) ของการท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์สร้างขึ้นมาเพื่อตอบคำถาม 3 ข้อ ดังนี้ อะไร คือ สิ่งที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปได้และได้เห็น (What can a tourist see, visit) ที่ไหน คือ สถานที่ที่น่าสนใจที่จะเดินทางไปและได้เห็น (Where are the interesting places to see and visit located) เมื่อไหร่ที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปสถานที่เที่ยวได้ตามที่ต้องการ (When can a tourist visit a particular place) ที่มา: Jorge Cardoso and Amit Sheth, "Semantic Web Services, Processes and Applications", Springer, 2006.
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศในแต่ละธุรกิจ (Impact of IT on different Sectors) ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อผลิตภัณฑ์ (IT impact On production) ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการตลาด (IT impact on marketing) ต่ำ (LOW) สูง (HIGH) อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) สายการบิน (Airlines) กระดาษ (Paper) แฟชั่นชั้นสูง (High Fashion) การทหาร (Defense) โรงไม้ (Lumber) ธนาคาร (Banks) โรงแรม (Hotels) ความงาม (Attractions) บริษัทนำเที่ยว (Travel Agent) ผู้ประกอบการท่องเที่ยว (Tour Operator) ค้าปลีก (Retailing) ที่มา: Sheldon, Pauline J. 2009. Tourism Information Systems.
การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศที่พัฒนาแล้ว (E-Tourism in developed countries) Tourism in U.S is mainly domestic and 90 percent of tourism sales are made through online Travel is largest source of bussiness to consumer revenues with $52.4 billion in 2004 and is predicted to reach over $119 billion by 2010 The top 3 U.S online travel agencies,Expedia,Travelocity,Orbitz all owned by Cendant corp.,comprise about 77 percent of market. Development of online booking,gross booking at expedia increased by 578 percent from $1793 million in 2002 to $10,364 million in 2004 In Europe,Opodo and Travelocity represents 60 percent of entire online market The European online travel market grew by 51 percent to reach $23.3 billion in 2004 and estimated to grow to $49.9 billion by this year ที่มา: http://www.csd.abdn.ac.uk/~fguerin/teaching/CS5038/assessment/essays_from_2006/groupL/GroupLdev_country.ppt
การท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศกำลังพัฒนา (E-Tourism for developing countries) Tourism in Asia mainly intraregional(78 percent of international tourism arrivals) The international tourism arrivals in Asia and Pacific reaches 147 million in 2004 and has recorded higher growth than in Europe and North America The spectacular growth of China interm of international tourism arrivals is the key factor in rise of tourism in EastAsia According to WTO,china will establish itself as the first tourism destination by 2020. ที่มา: http://www.csd.abdn.ac.uk/~fguerin/teaching/CS5038/assessment/essays_from_2006/groupL/GroupLdev_country.ppt
การค้นหาข้อมูลของนักท่องเที่ยว ที่มา: http://www.csd.abdn.ac.uk/~fguerin/teaching/CS5038/assessment/essays_from_2006/groupL/GroupLdev_country.ppt
Thus, potential tourists to Tanzania are already online อินเทอร์เน็ตคือ แหล่งสารสนเทศอันดับแรกของการท่องเที่ยว (ตัวอย่าง เช่น นักท่องเที่ยวของอังกฤษ ซึ่งก็เหมือนกับประเทศอื่น ๆ ) Thus, potential tourists to Tanzania are already online 31 22 16 12 11 2 5 10 15 20 25 30 35 ร้อยละ Internet Brochures Travel Agents Guide Books Friends/Relatives/Collegues Teletext TV Travel Programme National Press Magazines
ระบบออนไลน์สำหรับการท่องเที่ยว (Online Functions for the Tourism Industry-1) หน้าที่ รัฐบาล (Government) – ธุรกิจ (Business)-G2B ประชาสัมพันธ์สถานที่เที่ยว (Destination promotion) สารสนเทศสถานที่ท่องเที่ยว (Destination information) แลกเปลี่ยนข้อมูลเชิงสถิติ (Statistical data exchange) สารสนเทศด้านมาตรฐานและข้อบังคับ (Regulations and standards information) การทำธุรกรรมด้านการอนุญาต (Compliance procedures) รัฐบาล (Government) – ผู้บริโภค (Consumer)-G2C ประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยว (Destination promotion) สารสนเทศด้านสถานที่ท่องเที่ยว (Destination information) การทำธุรกรรมด้านการประมวลผลผู้โดยสาร (Passenger processing)
ระบบออนไลน์สำหรับการท่องเที่ยว (Online Functions for the Tourism Industry-2) หน้าที่ ธุรกิจ (Business) – ธุรกิจ (Business)-B2B ประชาสัมพันธ์สินค้า (Product promotion) สารสนเทศด้านตารางการเดินทาง อัตราค่าใช้จ่าย และสิ่งที่สามารถให้บริการได้ (Schedules, rates, availability information) การวิเคราะห์และรายงาน (Reports and analyses) การทำธุรกรรมด้านการประมวลผลค่าตอบแทน การจอง และการชำระเงิน (Commission processing, Bookings, Settlement) ธุรกิจ (Business) –ผู้บริโภค (Consumer) – B2C สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า (Customer satisfaction procedures) ทำธุรกรรมด้านการจอง ซื้อตั๋ว และชำระเงิน (Bookings, Ticketing,
ระบบออนไลน์สำหรับการท่องเที่ยว (Online Functions for the Tourism Industry-5) หน้าที่ ผู้บริโภค (Consumer) –ผู้บริโภค (Consumer) – C2C โฆษณาสถานที่ท่องเที่ยว (Destination promotion) สารสนเทศด้านสถานที่ท่องเที่ยว (Destination information) โฆษณาสินค้า (Product promotion)
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (eBusiness) ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ในการท่องเที่ยว (The Electronic Marketplace in tourism) ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (eBusiness) ธุรกิจ (Business) ผู้บริโภค (Consumer) รัฐบาล (Government) B2B เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน (Extranets) ผู้ให้ที่พัก (Hoteliers) กับผู้ประสานงานการท่องเที่ยว(tour operators) B2C ประยุกต์ใช้ระบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (eCommerce) ให้ผู้บริโภคชื้อตัวสายการบิน B2G การติดต่อธุรกิจกับหน่วยงานของรัฐบาล เช่น การปรับปรุงโรงแรม การขออนุญาตปรับปรุงโรงแรม C2B ผู้บริโภค (Consumers) ลงทะเบียนจองสายการบิน (airline) โรงแรม (hotel) หรือสโมสร (clubs) C2C ผู้บริโภคให้ข้อมูลกับผู้บริโภคด้วยกันเกี่ยวกับสินค้าที่ดีและการบริการไม่ดี C2G ผู้บริโภคขอวีซ่า แผนที่ และข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว G2B รัฐบาล (Government) ให้บริการข้อมูลกับโรงแรม ด้านความปลอดภัยของอาหาร (food safety) กฎหมาย (legislation) หรือการชำระภาษี (taxation) G2C รัฐบาลให้ข้อมูลกับผู้บริโภคเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติ (regulations) วีซ่า (visa) หรือการฉีดวัคซีนป้องกันโรค(vaccination) G2G รัฐบาลติดต่อกันเกี่ยวกับนโยบายที่ต้องปฏิบัติต่อนักท่องเที่ยว สอบถามเกี่ยววิธีการช่วยเหลือ ที่มา: Buhalis D., “eTourism”