งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
รหัสรายวิชา

2 จุดประสงค์รายวิชา เข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานอาชีพ องค์กรและการบริหารงานในองค์กร หลักการปฏิบัติตนในงานอาชีพ หลักการบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน สามารถประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพเพื่อการพัฒนาตนและงานอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพและหลักการบริหารงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ

3 คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานอาชีพ องค์กรและการบริหารงานในองค์กร หลักการปฏิบัติตนในงานอาชีพ หลักการบริหารงานคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน

4 บทที่ 1 งานอาชีพในอาเซียน
บทที่ 1 งานอาชีพในอาเซียน

5 ประชาคมอาเซียน อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้นำอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ

6 ประชาคมอาเซียน

7 อาชีพในฝันในอาเซียน ประเทศไทย แพทย์ ครู ทนายความ พ่อครัว
แพทย์ ครู ทนายความ พ่อครัว นักธุรกิจ สัตวแพทย์

8 อาชีพในฝันในอาเซียน ประเทศสิงคโปร์ แพทย์ ครู นักบิน ศิลปิน
แพทย์ ครู นักบิน ศิลปิน พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน

9 อาชีพในฝันในอาเซียน ประเทศมาเลเซีย แพทย์ ตำรวจ นักบิน ทนายความ ครู

10 อาชีพที่เปิดเสรี 8 สาขาอาชีพ
อาชีพที่เปิดเสรี 8 สาขาอาชีพ

11 อาชีพที่ทำงานในอาเซียนได้อย่างเสรีใน 10 ประเทศ ดังนี้

12 การใช้ภาษาอังกฤษกับอนาคตของไทยในอาเซียน
กฎบัตรอาเซียนข้อ 34 บัญญัติว่า “The working language of ASEAN shall be English” “ภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ”

13 การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทำงาน(Working language)
บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับอาเซีย บุคคลที่ทำงานในอาเซียน บุคคลที่ทำงานร่วมกับเพื่อนอาเซียน บุคคลที่มีเครือข่ายประชาสังคมอาเซียน: ภาคประชาสังคม (Civil Society) บุคคลที่แสวงหาโอกาสทางการศึกษาในอาเซียน บุคคลที่มีเพื่อนในอาเซียน บุคคลที่เดินทางท่องเที่ยวในอาเซียน

14 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว เพื่อรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)ประเทศไทย ในฐานะผู้ประสานงาน (Country Coordinator) สาขาการท่องเที่ยว โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจดำเนินการตามพันธะข้อตกลงระหว่างประเทศและแผนการรวมกลุ่มเศรษฐกิจสาขาการท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ได้จัดทำข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition arrangement on Tourism Professionals : ASEAN MRA-TP) เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพการท่องเที่ยวในอาเซียนและแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด

15 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียนสำหรับ 2 สาขา 6 แผนก 32 ตำแหน่งงาน ดังนี้ (1) สาขาที่พัก (Hotel Services) 1.1 แผนกต้อนรับ (Front Office) มี 5 ตำแหน่งงาน 1.1.1 ผู้จัดการฝ่ายต้อนรับ (Front Office Manager) 1.1.2 ผู้ควบคุมดูแลฝ่ายต้อนรับ (Front Office Supervisor) 1.1.3 พนักงานต้อนรับ (Receptionist) 1.1.4 พนักงานรับโทรศัพท์ (Telephone Operator) 1.1.5 พนักงานยกกระเป๋า (Bell Boy)

16 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียนสำหรับ 2 สาขา 6 แผนก 32 ตำแหน่งงาน แผนกแม่บ้าน(House Keeping) มี 6 ตำแหน่งงาน 1.2.1 ผู้จัดการแผนกแม่บ้าน (Executive Housekeeper) 1.2.2 ผู้จัดการฝ่ายซักรีด (Laundry Manager) 1.2.3 ผู้ควบคุมดูแลห้องพัก (Floor Supervisor) 1.2.4 พนักงานซักรีด (Laundry Attendant) 1.2.5 พนักงานดูแลห้องพัก (Room Attendant) 1.2.6 พนักงานทำความสะอาด (Public Area Cleaner)

17 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
หลักสูตรการท่องเที่ยวแห่งอาเซียนสำหรับ 2 สาขา 6 แผนก 32 ตำแหน่งงาน 1.3 แผนกประกอบอาหาร (Food Production) มี 7 ตำแหน่งงาน 1.3.1 หัวหน้าพ่อครัว (Executive Chef) 1.3.2 พ่อครัวแต่ละงาน (Demi Chef) 1.3.3 ผู้ช่วยพ่อครัวฝ่ายอาหาร (Commis Chef) 1.3.4 พ่อครัวงานขนมหวาน (Chef de Partie) 1.3.5 ผู้ช่วยพ่อครัวขนมหวาน (Commis Pastry) 1.3.6 งานขนมปัง (Baker) งานเนื้อ (Butcher)

18 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
1.4 แผนกอาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage Service) มี 5 ตำแหน่งงาน 1.4.1 ผู้อำนวยการแผนกอาหารและเครื่องดื่ม (F&B Director) ผู้จัดการอาหารและเครื่องดื่ม (F&B Outlet Manager) หัวหน้าพนักงานบริกร (Head Waiter) 1.4.4 พนักงานผสมเครื่องดื่ม (Bartender) 1.4.5 พนักงานบริกร (Waiter)

19 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
(2) สาขาการเดินทาง (Travel Services) 2.1 แผนกธุรกิจนำเที่ยว (Travel Agencies) มี 4 ตำแหน่งงาน ผู้จัดการทั่วไป (General Manger) 2.1.2 ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป (Assistant General Manager) 2.1.3 หัวหน้าผู้แนะนำการเดินทาง (Senior General Manager) 2.1.4 ผู้แนะนำการเดินทาง (Travel Consultant)

20 วิชาชีพการท่องเที่ยว กับ AEC
2.2 แผนกบริหารธุรกิจนำเที่ยว (Tour Operation) มี 5 ตำแหน่งงาน ผู้จัดการธุรกิจ (Product Manager) 2.2.2 ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด (Sales and Marketing Manager) 2.2.3 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี (Credit Manager) 2.2.4 ผู้จัดการฝ่ายตั๋ว (Ticketing Manager) 2.2.5 ผู้จัดการฝ่ายท่องเที่ยว (Tour Manager)

21 การศึกษาไทยกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
การเพิ่มทักษะความรู้ด้านเศรษฐกิจ การตลาด ภาษา วัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนและเรียนรู้พฤติกรรมซึ่งกันและกัน และภาคการศึกษาของไทยเอง จึงเป็นส่วนสำคัญต่อการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของประชากร ทั้งการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร เพื่อผลิต บุคลากรของไทยที่มีคุณภาพ รวมทั้งการมีทักษะความรู้ที่ตรงความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในไทย และการออกไปสู่ตลาดแรงงานในประเทศสมาชิก ที่สำคัญก็คือ การพัฒนาทักษะทาง ด้านภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ที่เป็นภาษาสากลที่ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศสมาชิก รวมภาษาอื่นๆ ของประเทศในอาเซียน ในขณะเดียวกันภาคการศึกษาของไทยก็ต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับบุคลากร และแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน ที่สนใจและเข้ามาในไทยเพื่อศึกษาด้านภาษา วัฒนธรรม รวมทั้งการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ในประเทศไทย โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัย เพื่อที่จะเพิ่มเติมความรู้ความเชี่ยวชาญในการติดต่อค้าขายหรือทำงานกับคนไทย หรือกลับไปทำงานในประเทศของตนเอง

22 เปรียบเทียบโอกาสสำหรับสาขาการศึกษาไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน

23 3 เสาหลักความร่วมมือของประชาคมอาเซียน

24 สรุป ภาษาอังกฤษจึงเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารสร้างสัมพันธ์สู่ภูมิภาคอาเซียน โลกแห่งมิตรไมตรีที่ขยายอย่างไร้พรมแดน เป็นโลกแห่งการแข่งขันไร้ขอบเขตภูมิศาสตร์และวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษจึงเป็นภาษาที่สองของชาวอาเซียน ใช้คู่กับภาษาประจำชาติของแต่ละคน ส่วนภาษาที่สามของชาวอาเซียนนั้นก็คือภาษาอื่นในอาเซียน ภาษาหนึ่งภาษาใดหรือมากว่าหนึ่งภาษา เช่น ภาษามาเลย์ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาจีน ภาษาลาว ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม ภาษาพม่า ภาษาฟิลิปปิโน ภาษาฮินดี และภาษาทมิฬ นอกจากนั้นยังมีภาษาของประเทศนอกภูมิภาคอาเซียนที่เป็นประเทศคู่เจรจาสำคัญของอาเซียนอีก 8 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย ซึ่งต้องเรียนรู้ภาษาที่นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google