นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง เป้าหมายทางเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เป้าหมายทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เป้าหมายทางเศรษฐกิจ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้และความเป็นธรรมในระบบเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลัง Fiscal Policy Revenue Tax Expenditure Debt Growth Stability Income Distribution Economic Target 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงิน Monetary Policy -Open Market Operation -Rediscount Rate -Legal Reserve -Bank Rate -Growth -Stability -Income Distribution Economic Target 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความหมายการเจริญเศรษฐกิจ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของรายได้ที่แท้จริง (Real Income) ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางเศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียว การพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Development) หมายถึง กระบวนการซึ่งทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นในระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคล (Per Capita Real Income) ตลอดระยะเวลายาวนาน เพื่อให้มาตรฐานความเป็นอยู่ของประชาชนส่วนใหญ่สูงขึ้นกว่าเดิม การพัฒนาเศรษฐกิจมิใช่เป็นแต่เพียงกระบวนการซึ่งทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของรายได้เท่านั้น แต่การกระจายรายได้จะต้องเป็นไปอย่างเสมอภาค ประชาชนส่วนใหญ่จะต้องได้รับประโยชน์จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การพัฒนาเศรษฐกิจ = ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ + ความอยู่ดีกินดี การพัฒนาเศรษฐกิจ นั้นครอบคลุมกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม กล่าวคือ นอกจากจะหมายถึงการเพิ่มขึ้นของรายได้ที่แท้จริงแล้ว ยังหมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมอีกด้วย การพัฒนาเศรษฐกิจ = ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ + ความอยู่ดีกินดี การพัฒนาเศรษฐกิจ จึงเน้นถึงการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในสังคมให้ดีขึ้น นั่นคือ การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง ก. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ข. การลดหรือขจัดปัญหาความยากจน ค. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม สถาบันที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การกระจายผลผลิต สถาบันอื่น ๆ รวมทั้งทัศนคติของประชาชน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวคิดเกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของเคนส์ (Keynes) เคนส์อธิบายถึงการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติ ว่าเกิดจากตัวกำหนด 2 ระดับ คือ 1. ตัวกำหนดในทันที หรือตัวกำหนดโดยตรงของรายได้และการจ้างงาน ซึ่งได้แก่ การบริโภคและการลงทุน (กรณีระบบเศรษฐกิจเป็นแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล) 2. ตัวกำหนดในที่สุด หรือปัจจัยที่กำหนดการบริโภคและการลงทุน (อีกต่อหนึ่ง อันจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้และการจ้างงานอีกต่อหนึ่ง) ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ แนวโน้มการบริโภค ความต้องการในการถือสินทรัพย์สภาพคล่อง และอัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุน หรือประสิทธิภาพส่วนเพิ่มของทุน (ซึ่งกำหนดการลงทุน) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจอาจไม่เกิดขึ้น ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ เพราะอุปสงค์มวลรวมในระบบเศรษฐกิจอาจมีไม่เพียงพอ หรือต่ำเกินไป ดังนั้น ในเชิงนโยบายจึงเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่จะใช้นโยบายแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานเต็มที่ การแทรกแซงของรัฐบาลอาจทำได้โดย - การควบคุม(ลด)อัตราดอกเบี้ย(เพื่อกระตุ้นการลงทุน) - การเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล (โดยการใช้งบประมาณขาดดุล) - การใช้นโยบายที่จะก่อให้เกิดการกระจายรายได้ใหม่เพื่อยกระดับของการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค (เช่น การเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า แล้วนำงบประมาณมาใช้จ่ายช่วยเหลือคนรายได้ต่ำ การที่แนวโน้มการบริโภคของคนจนมากกว่าคนรวยทำให้ระดับการบริโภคโดยรวมเพิ่มสูงขึ้นได้) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพในเชิงคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี การหารายได้ประชาชาติดุลยภาพในเชิงคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี 1.Income-Expenditure Approach รายได้ประชาชาติ=ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม 2.Withdrawal-Injection Approach การรั่วไหล=การอัดฉีด 1.ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีรัฐบาล Y = C + I S = I 2.ระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล Y = C + I +G S + T = I + G 3.ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C + I + G + X - M S + T + M = I + G + X 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลการประมาณการแบบจำลอง Dependent Variable: Y Method: Least Squares Date: 02/21/07 Time: 02:20 Sample(adjusted): 2523 2548 Included observations: 26 after adjusting endpoints Variable Coefficient Std. Error t-Statistic Prob. A -112.8854 28.26471 -3.993862 0.0007 C 1.535777 0.073860 20.79321 0.0000 I 0.469357 0.095326 4.923696 0.0001 G 0.170290 0.114162 1.491657 0.1507 X-M 0.512894 0.104279 4.918465 R-squared 0.999443 Mean dependent var 2262.704 Adjusted R-squared 0.999337 S.D. dependent var 946.2413 S.E. of regression 24.36197 Akaike info criterion 9.394965 Sum squared resid 12463.62 Schwarz criterion 9.636907 Log likelihood -117.1345 F-statistic 9423.607 Durbin-Watson stat 1.066044 Prob(F-statistic) 0.000000 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
2544 2545 2546 2547 2548 2549 Growth rate 2.1 5.4 7.1 6.3 4.5 CA/GDP 7.4 6.2 5.7 3.0 -8.1 Inflation 1.6 0.7 1.8 2.8 Export growth -4.2 12 9.6 4.3 เกิดจริง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความหมายและประเภท ของการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความหมายของเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ หมายถึง ภาวะที่ตัวแปรทางเศรษฐกิจต่าง ๆ มีการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมสอดคล้อง และไม่ผันผวนจนเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ เครื่องชี้เสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค ประกอบไปด้วยต่าง ๆ เหล่านี้คือ ไม่ต้องการให้เงินเฟ้อสูงเกินไปเพราะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของประชาชน ไม่ต้องการให้มีการว่างงานมากเกินไป ไม่ต้องการให้มีหนี้สาธารณะสูงเกินไป ทุนทรัพย์ไม่ผันผวนเกินไป อัตราแลกเปลี่ยนหรือค่าเงินบาทไม่มีการผันผวนขึ้นลงเกินไป 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ระบบสถาบันการเงินจะมีเสถียรภาพหรือไม่หลักแรกคือ ความเพียงพอของทุน capital adequacy ratio ทุนที่ธนาคารพาณิชย์มีเพียงพอไหม โดยทั่วไปยึดตามหลักสากล โดยทุนเทียบกับทรัพย์สินของธนาคารพาณิชย์ นำมูลค่าหุ้นเทียบกับสินเชื่อที่เขาปล่อยไปไม่ควรจะต่ำกว่า 8.5 % นั่นคือมีทุนอย่างน้อย 8.5 % ของสินเชื่อ นิยามในระยะยาวของเศรษฐกิจมหภาค คือ เป้าหมายของการขยายตัวของเศรษฐกิจของประเทศจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการผลิตในระยะยาวของเศรษฐกิจมีอยู่ 4 ปัจจัยคือ การสะสมทุน การลงทุน แรงงานและผลิตภาพในการผลิต ดังนั้น เป้าหมายของการบริหารเศรษฐกิจคือ การที่จะทำให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวต่อเนื่องอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประเภทเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพภายใน (Internal stability) -รายได้และการมีงานทำ -ระดับราคา -ค่าจ้าง -อัตราดอกเบี้ย -การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพภายนอก (External stability) -ดุลการชำระเงิน -อัตราแลกเปลี่ยน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เสถียรภาพราคาและการวัดเสถียรภาพราคา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความหมายของเสถียรภาพราคา เสถียรภาพด้านราคา หมายถึง การพยายามไม่ให้ระดับราคาโดยทั่วไปมีการเปลี่ยนแปลงมากเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการควบคุมไม่ให้เกิดภาวะเงินเฟ้อในอัตราที่สูง ตัวชี้วัดเสถียรภาพระดับราคา คือ อัตราเงินเฟ้อ (Inflation rate) เงินเฟ้อ (Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ(Inflation) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เงินเฟ้อ (Inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง เงินเฟ้อจึงแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1. เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์ (demand-pull inflation) และ 2. เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านต้นทุน (cost-push inflation) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
1. เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์ (demand-pull inflation) เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์ หมายถึง เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากอุปสงค์รวมเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น ซึ่งอาจจะเกิดจากการที่ประชาชนมีความต้องการใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (ลดการออมทรัพย์) หรือเอกชนแข่งกันลงทุนเพิ่มขึ้น หรือเกิดจากมาตรการทางการคลัง เช่น รัฐใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น ลดภาษีที่เรียกเก็บจากประชาชน เป็นต้น หรือเกิดจากการใช้มาตรการทางการเงินโดยการเพิ่มปริมาณเงิน เป็นต้น เหล่านี้ล้วนเกิดผลทำให้เส้นอุปสงค์รวมเลื่อนระดับไปทางขวามือของเส้นเดิม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
E2 yf y2 y1 AD0 LAS E1 P P1 SAS0 y AD1 P2 A (MS ) 15/11/61 AD0 LAS E1 P P1 SAS0 y AD1 P2 A (MS ) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สมมติให้มีการขยายตัวทางการเงินซึ่งอาจเกิดจากการดำเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัว ทำให้ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น เส้น LM เลื่อนไปทางขวามือ(ไม่ได้แสดงรูป) จึงทำให้เส้นอุปสงค์รวมเลื่อนระดับไปทางขวามือ จากเส้น AD1 เป็นเส้น AD2 ทำให้เกิดอุปสงค์รวมส่วนเกินเท่ากับ yfy1 จึงเกิดแรงดึงให้ระดับราคาสูงขึ้น การสูงขึ้นของระดับราคาจะทำให้อุปทานของเงินที่แท้จริงและอุปสงค์รวมลดลงบ้าง และเกิดการขยายตัวของอุปทานรวม เนื่องจากอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินยังไม่ได้ปรับตัวสูงขึ้น และระดับราคาที่แรงงานคาดคะเนก็ยังคงเดิม การสูงขึ้นของระดับราคา จึงมีผลทำให้อุปสงค์รวมลดลงบ้าง ในขณะที่อุปทานรวมเพิ่มขึ้น ในที่สุดทำให้อุปสงค์รวมส่วนเกินหมดไป โดยจุดดุลยภาพใหม่อยู่ที่จุด E2 ระดับราคาดุลยภาพสูงขึ้นเป็น OP2 และระดับรายได้ประชาชาติที่แท้จริงสูงขึ้นเป็น Oy2 ซึ่งสูงกว่าระดับผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่คือ Oyf 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ดังนั้นจุด E2 จึงเป็นจุดดุลยภาพชั่วคราวในระยะสั้น ในระยะยาวจุด E2 จะต้องเคลื่อนไปอยู่ที่จุดบนเส้นอุปทานรวมระยะยาวและระดับรายได้ประชาชาติที่แท้จริงจะเท่ากับ Oyf ซึ่งเป็นระดับผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ ดังเหตุผลที่จะอธิบายต่อไป ถ้าปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจขยายตัวต่อไปอีก ระดับราคาจะยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น การวิเคราะห์เงินเฟ้อที่เกิดจากทางด้านอุปสงค์นี้ยังสอดคล้องกับแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร์สำนักการเงินที่ว่า ในระยะยาว ปริมาณเงินเป็นตัวแปรสำคัญที่มีอิทธิพลต่อระดับราคา แต่ไม่มีอิทธิพลต่อระดับรายได้ประชาชาติที่แท้จริง นั่นคือ เงินเฟ้อเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินนั่นเอง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
2. เงินเฟ้อที่เกิดจากทางด้านต้นทุน (cost-push inflation) เงินเฟ้อที่เกิดจากทางด้านต้นทุน หมายถึง เงินเฟ้อที่เกิดจากการเลื่อนของเส้นอุปทานรวมระยะสั้นไปทางซ้ายมือของเส้นเดิม สาเหตุที่ทำให้เส้นอุปทานรวมระยะสั้นเลื่อนไปทางซ้ายมืออาจจะเกิดจากการที่แรงงานคาดคะเนระดับราคาสูงขึ้น จึงทำให้แรงงานเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้น หรืออาจจะเกิดจากปัจจัยอื่นที่ทำให้เส้นอุปทานรวมลดลงอย่างทันที (supply shock) ทำให้เส้นอุปทานรวมระยะสั้นเลื่อนระดับไปทางซ้ายมือของเส้นเดิม - ค่าจ้างเพิ่มสูงขึ้น - ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น - กำไรของหน่วยธุรกิจเพิ่มขึ้น - ต้นทุนการผลิตอื่นๆเพิ่มขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
SAS2 P LAS SAS1 E2 P2 P1 E1 AD1 y y0 y1 yf 15/11/61 y y0 y1 yf 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สมมติให้แรงงานเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินเพิ่มขึ้นสูงกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของผลผลิตทางกายภาพของแรงงานหน่วยสุดท้าย ซึ่งจะมีผลทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ระดับการจ้างงานและอุปทานรวมลดลง ทำให้เส้นอุปทานรวม SAS1 เลื่อนระดับไปทางซ้ายมือเป็นเส้น SAS2 และทำให้เกิดอุปสงค์รวมส่วนเกินเท่ากับ y1yf ซึ่งจะผลักดันให้ระดับราคาสูงขึ้น การสูงขึ้นของระดับราคาจะทำให้อุปทานของเงินที่แท้จริงและอุปทานรวมลดลงบ้าง ในขณะที่กระตุ้นให้ผู้ผลิตมีความต้องการจ้างงานเพิ่มขึ้น อุปทานรวมจึงขยายตัวเพิ่มขึ้น ในที่สุดทำให้อุปสงค์รวมส่วนเกินหมดไป โดยจุดดุลยภาพใหม่อยู่ที่จุด E2 ซึ่งต่ำกว่าระดับผลผลิตที่ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงของระดับราคาและผลผลิตเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม ซึ่งเป็นการต่อต้านวัฏจักร (counter-cyclical) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จะเห็นได้ว่า เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านต้นทุนนี้ก่อให้เกิดผล 2 ประการ คือ ระดับราคาสูงขึ้น แสดงว่าเกิดเงินเฟ้อ (inflation) แต่ในขณะเดียวกัน ระดับผลผลิตก็ลดต่ำลง แสดงว่า เศรษฐกิจชะงักงัน (stagnation) ดังนั้น บางที่เรียกรวมกันว่า ภาวะเศรษฐกิจชะงักงันควบคู่กับภาวะเงินเฟ้อ (stagflation) จุดดุลยภาพ E2 ในรูป เป็นจุดดุลยภาพชั่วคราวในระยะสั้น ทั้งนี้เพราะเมื่อระบบเศรษฐกิจมีการว่างงานเกิดขึ้น ก็จะมีผลทำให้แรงงานที่ต้องการมีงานทำยินดีรับอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินต่ำลงบ้าง ผู้ผลิตจึงมีความต้องการจ้างงานเพิ่มขึ้น อุปทานรวมจึงขยายตัวเพิ่มขึ้น จุดดุลยภาพ E2 จึงเคลื่อนกลับมาอยู่ที่จุดดุลยภาพ E1 ตามเดิม และภาวะเงินเฟ้อยุติลง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ดังนั้น เงินเฟ้อที่เกิดจากการที่ต้นทุนสูงขึ้นอันเนื่องมาจากแรงงานเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้นนั้น (หรืออุปทานรวมลดลงอย่างกะทันหัน) จะเกิดขึ้นเพียงชั่วคราว และในที่สุดก็จะยุติลงได้ สหภาพแรงงานมักจะโต้แย้งว่า เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจมิได้มีสาเหตุมาจากการที่แรงงานเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้น แต่เกิดจากสาเหตุอื่นมากกว่า (เช่น อุปสงค์เพิ่มขึ้น) ทำให้ระดับราคาสูงก่อน แรงงานจึงต้องเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้น เพื่อชดเชยกับการเพิ่มสูงขึ้นของระดับราคา แต่ถ้าแรงงานเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวองเงินสูงขึ้นก่อน โดยที่ระดับราคายังมิได้สูงขึ้น ก็จะมีผลทำให้เกิดเงินเฟ้อเพียงชั่วคราวเท่านั้น เพราะระบบเศรษฐกิจจะมีการว่างงานเกิดขึ้นด้วย ทำให้แรงงานไม่สามารถเรียกร้องอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้นต่อไปได้ ในที่สุดภาวะเงินเฟ้อที่มีสาเหตุจากค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้น (wage-push inflation) ก็จะต้องยุติลง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ดุลงบประมาณ %ดุลงบประมาณต่อGDP ดัชนีราคา อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน 2534 123.7 -4.9 69.2 5.7 2.6 2535 85.9 -3 72.1 4.1 2536 68.9 2.2 74.5 3.4 1.7 2537 65.8 1.9 78.2 5 1.5 2538 112.5 2.8 82.8 5.8 2539 104.3 2.3 87.6 5.9 4.4 2540 -87.1 -1.9 92.5 5.6 4.2 2541 -115.3 -2.4 100 8.1 3.6 2542 -134.4 -2.8 100.3 0.3 3.3 2543 -116.62 101.9 1.6 2.4 2544 -107.91 -2.1 103.5 2545 -118.7 -2.2 104.2 0.7 2.1 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลกระทบของตัวแปรทางเศรษฐกิจต่ออัตราเงินเฟ้อ ประเมินผลกระทบราคาน้ำมันที่สูงขึ้นว่า การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันดิบทุกๆ 10% จะทำให้การขยายตัวเศรษฐกิจลดลง 0.2% เงินเฟ้อพื้นฐานเพิ่มขึ้น 0.1% เงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ้น 0.4% และการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดต่อจีดีพีเพิ่มขึ้น 0.6% 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การกระจายรายได้ และความเป็นธรรมในระบบเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความหมายและการวัดการกระจายรายได้ การกระจายรายได้ (Income distribution) เป็นการความเท่าเทียมกันในรายได้ของคนในสังคม ถ้าทุกคนในสังคมมีรายได้เท่ากันหมด เรียกว่ามีการกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกันแบบสมบรูณ์ (perfect equality) ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีคนเพียงคนเดียวที่มีรายได้ คนอื่นๆ ในสังคมไม่มีรายได้เลย เรียกว่ามีการกระจายรายได้อย่างไม่เท่าเทียมกันแบบสมบรูณ์ (perfect inequality) ความเท่าเทียมกันหรือไม่เท่าเทียมกันของรายได้วัดได้อย่างไร? 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การวัดความยากจนและการกระจายรายได้ การกระจายรายได้ การเพิ่มขึ้นของรายได้โดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มต่างๆ(Relative Income) ซึ่งมีเกณฑ์การชี้วัดที่ใช้กัน ได้แก่ Gini - Coefficient และ Income Share (Quintile หรือ Decile) ซึ่งใช้วัดความไม่ทัดเทียมกันในส่วนแบ่งรายได้ ของกลุ่มคนที่แบ่งตามระดับรายได้ Variance of Income Log และ Shorrocks' Index ซึ่งแบ่งกลุ่มคนตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ(อาชีพ) ที่ตั้งครัวเรือน(เมือง/ชนบท) และลักษณะเฉพาะ เช่น อายุ เพศ การศึกษา เพื่อหาความไม่เท่าเทียมกันในคนแต่ละกลุ่มดังกล่าว รายได้ประชาชาติต่อหัว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
Gini-Coefficient และ Income Share (Quintile หรือ Decile) สัมประสิทธิ์จินี หรือสัมประสิทธิ์การกระจายรายได้ซึ่งใช้วัดความไม่ทัดเทียมกันในส่วนแบ่งรายได้ ของกลุ่มคนที่แบ่งตามระดับรายได้ Gini Coefficient เป็นตัวชี้วัดความไม่เท่าเทียมที่ใช้กันแพร่หลายที่สุด เป็นตัวที่ใช้อธิบายในกลุ่ม Lorenz Curve ค่าจินีถูกกำหนดจากพื้นที่ระหว่างเส้น Lorenz Curve กับเส้นการกระจายรายได้สมบูรณ์ หารด้วยพื้นที่ใต้เส้นทะแยงมุมทั้งหมด สัมประสิทธิ์จินี จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 โดยหากมีค่าเข้าใกล้ศูนย์จะยิ่งดี คือทุกคนมีรายได้เท่าเทียมกันอย่างสมบูรณ์ เมื่อค่า = 0 มีค่าเข้าใกล้ 1 มากเท่าไรยิ่งแสดงความไม่ทัดเทียมกันในรายได้มากขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เกณฑ์การชี้วัดการกระจายรายได้ที่ได้รับความนิยมรองลงมา คือ Variance of Income Log และ Shorrocks' Index ซึ่งแบ่งกลุ่มคนตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ(อาชีพ) ที่ตั้งครัวเรือน(เมือง/ชนบท) และลักษณะเฉพาะ เช่น อายุ เพศ การศึกษา เพื่อหาความไม่เท่าเทียมกันในคนแต่ละกลุ่มดังกล่าว แต่การกระจายรายได้ที่ดีที่สุด คือ การเพิ่ม Absolute real Income ของทุกกลุ่มโดยต้องการให้กลุ่มที่มีรายได้น้อยมีอัตราการเพิ่มรายได้สูงสุดแต่เป็นเรื่องที่ทำได้ยากและไม่ค่อยประสบความสำเร็จมาก นัก ดังนั้นเป้าหมายอย่างต่ำ คือ การพยายามทำให้ Absolute real Income ของทุกกลุ่มเพิ่มขึ้นและให้จำนวนประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
วิธีการคำนวณการกระจายรายได้ % รายได้รวมทั้งหมดสะสม กลุ่ม รายได้รวม % รายได้รวมทั้งหมด % รายได้รวมทั้งหมดสะสม จนสุด 20% 10,000 10,000/274,000 = 3.6% 3.6 % ที่สอง 20% 24,000 8.8 % 12.4 % ที่สาม 20% 50,000 18.2 % 30.6 % ที่สี่ 20% 80,000 29.2 % 59.8 % รวยสุด 20% 110,000 40.2 % 100 % รวมทั้งหมด 274,000 - 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
Lorenz curve Line of perfect equality Lorenz curve Line of perfect inequality Note that providing that incomes (or whatever else is being measured) cannot be negative, it is impossible for the Lorenz curve to rise above the line of perfect equality, or sink below the line of perfect inequality. The curve must be increasing and convex to the y axis. Note: รายได้ติดลบไม่ได้ เพราะ Lorenz curve อยู่ต่ำกว่าเส้น perfect inequality ไม่ได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
Lorenz curve and Gini Index Gini coefficient = Area A Area (A+B) A B 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
Gini coefficient and Gini index ค่าสัมประสิทธิ์ Gini วัดความไม่เท่าเทียมกัน พัฒนาขึ้นโดยนักสถิติ ชาวอิตาเลียนที่ชื่อ Corrado Gini ค่าสัมประสิทธิ์ Gini มีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 ( 0 < Gini coefficient <1 ) Gini coefficient = 0 หมายความว่า มีการกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกัน (perfect equality) นั่นคือ ทุกคนมีรายได้เท่ากันหมด Gini coefficient = 1 หมายความว่า มีการกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกันอย่างสมบรูณ์ที่สุด (perfect inequality) นั่นคือ มีเพียงคนเดียวที่มีรายได้ นั่นคือ ค่า Gini ยิ่งมาก ความไม่เท่าเทียมกันยิ่งเพิ่มสูงขึ้น Gini Index คือ Gini coefficient คูณด้วย 100 เป็นการแสดงในรูปร้อยละ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การคำนวณ Gini coefficient โดยใช้สูตร สูตรในการคำนวณ Gini ที่มีแบ่งกลุ่มเป็น n กลุ่ม รายได้ถูกเรียงจากน้อยไปหามาก หรือจนสุดไปรวยสุด โดยที่ Xi คือ 1/n หรือเปอร์เซ็นต์สะสมของประชากร (cumulative percentage of population) Yi คือ เปอร์เซ็นต์สะสมของรายได้ (cumulative percentage of income) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศไทย ปี Gini index Quintile1 Quintile 2 Quintile 3 Quintile 4 Quintile 5 2531 48.5 4.6 8.1 12.5 20.7 54.2 2533 52.4 4.2 7.3 11.5 19.2 57.8 2535 53.6 3.9 7.0 11.1 19.0 59.0 2537 53.7 4.0 7.2 11.6 19.9 56.7 2539 51.5 7.5 11.8 2541 51.1 7.6 11.9 19.8 56.5 ที่มา : ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน : ประมวลผลโดยกองประเมินผลการพัฒนา สศช. 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ค่าสัมประสิทธิ์ Gini ของประเทศไทย ปี 1986-2002 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ค่าสัมประสิทธิ์ Gini ของบางประเทศ Gini coefficient India 0.249 Germany 0.283 Japan 0.325 France 0.327 Australia 0.352 United Kingdom 0.360 USA 0.408 China 0.447 Mexico 0.546 It is an interesting fact that while the most developed European nations tend to have values between 0.24 and 0.36, the United States has been above 0.4 for several decades. This is an approach to quantify the perceived differences in welfare and compensation policies and philosophies. 15/11/61 from the United Nations Human Development Report 2004 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Kuznets (1955) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับการกระจายรายได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทดสอบข้อสมมุติฐานในปี 1950 กับ 3 ประเทศ คือ อังกฤษ เยอรมันนี อเมริกา พบว่าการกระจายรายได้เลวลงในระยะเริ่มต้นของการพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานจากสาขาที่มีประสิทธิภาพต่ำและมีความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายสูงไปสู่สาขาที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าและมีความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายต่ำกว่า ความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายระหว่างสาขาเศรษฐกิจ จะมีมากกว่าภายในสาขาเอง เช่น ระหว่างเกษตรกับอุตสาหกรรม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Deininger and Squire (1998) สร้างงานวิจัยที่ใช้ฐานข้อมูลจาก 108 ประเทศ ซึ่งพบว่า มีถึงร้อยละ 90 ที่ไม่สนับสนุนข้อสมมุติฐานของ Kuznets ผลปรากฏว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงของความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอาจจะก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้เพิ่มขึ้นหรือลดลงก็เป็นไปได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เปรียบเทียบอัตราการขยายตัวของ GNP และรายได้ของกลุ่มยากจนสุด 40% 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สถานการณ์ความยากจน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เส้นความยากจน จำนวนและสัดส่วนคนจน ปี 2539 - 2547 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จำนวนและความหนาแน่นของคนจน จำแนกตามภาค พ.ศ.2539-2547 คนจนส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีสัดส่วนคนยากจน ต่อประชากรมากที่สุด 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จำนวนและสัดส่วนคนจน จำแนกตามเขตเมือง-ชนบท ปี 2539 - 2547 คนจนส่วนใหญ่อยู่ในเขตชนบท 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ลักษณะของครัวเรือนยากจน หัวหน้าครัวเรือนที่มีการศึกษาต่ำจะมีสัดส่วนยากจนสูงกว่าหัวหน้า ครัวเรือนที่มีการศึกษาสูงกว่า ครัวเรือนที่มีขนาดใหญ่มีความเสี่ยงต่อความยากจนมากกว่าครัวเรือน ขนาดเล็ก ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุเป็นหัวหน้าครัวเรือนมีโอกาสยากจนสูงกว่าคน หนุ่มสาว ครัวเรือนมีอาชีพในภาคเกษตรยังคงมีความยากจนมากกว่าอาชีพอื่นๆ คนยากจนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 มีอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้าง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
คนยากจนของทุกภาคมีปัญหาหนี้สินและที่ดินทำกิน ในขณะที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีปัญหาที่อยู่อาศัย ประชาชนต้องการให้รัฐช่วยเหลือด้านที่ดินทำกิน ที่อยู่อาศัย ขอขยาย เวลาการชำระหนี้ หาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ และอาชีพเสริม เป็นจำนวน มาก 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สถานการณ์การกระจายรายได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
รายได้ของครัวเรือนขยายตัวตามค่าจ้างเงินเดือนและกำไรจากการเกษตร รายได้ของครัวเรือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือต่ำกว่าทุกภาค ช่องว่างรายได้เกษตรกรกับคนอาชีพอื่นลดลงอย่างมีนัยสำคัญเป็นครั้ง แรกในรอบ 8 ปี การกระจายรายได้โดยรวมมีทิศทางที่ดีขึ้นในขณะที่ความเหลื่อมล้ำ ภายในภาคการผลิต มีทิศทางตรงกันข้าม การกระจายรายได้กรุงเทพมหานครและปริมณฑลดีกว่าทุกภาค ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของคนในกลุ่มอาชีพเดียวกันยังมีมาก การกระจายผลการพัฒนาสู่ภูมิภาคยังเป็นปัญหา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เศรษฐกิจของประเทศโต... แล้วมีใครได้อยู่ได้กิน? โดย ดร.ฉวีวรรณ สายบัว คอลัมน์ เศรษฐกิจระบบสารสนเทศ ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 06 ตุลาคม 2546 ปีที่ 27 ฉบับที่ 3520 (2720) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความทุกข์ของประชาชน ทุกข์เพราะยากจน ทุกข์เพราะไม่มีอาหารจะกิน ไม่มีปัจจัยพื้นฐานที่จะดำรงชีวิต ทุกข์เพราะไม่มีงานจะทำ ทุกข์เพราะไม่มีรายได้จะใช้จ่าย ทุกข์เพราะไม่มั่นใจว่าจะมีงานทำและมีรายได้ที่มั่นคงขึ้นตลอดไป ทุกข์เพราะถูกสูบถูกขูดรีดเอารัดเอาเปรียบจากผลผลิตส่วนเกินที่ออกแรงทำงาน ทุกข์เพราะมองไม่เห็นโอกาสเห็นอนาคตว่า จะเลื่อนฐานะ และความสามารถทางเศรษฐกิจของตน ให้ทัดเทียมกับคนอื่นในสังคมได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จุดมุ่งหมายทางเศรษฐกิจของประเทศ เน้นหนักการขยายกำลังการผลิต การเพิ่มรายได้ของ "ประเทศ" หรือเน้นหนักการขยายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ "ประเทศ" 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ยุทธศาสตร์หรือแนวทางหลักที่ประเทศไทยใช้ ในการดำเนินการเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายทางเศรษฐกิจ (1) ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี ที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของประเทศ ดำเนินการโดยเอกชน ภาครัฐบาลทำหน้าที่เป็นเพียงผู้ให้บริการขั้นรากฐาน และการสนับสนุนส่งเสริมและ/ หรือควบคุมแทรกแซง เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากความบกพร่องของกลไกตลาด และการแข่งขันโดยเสรี (2) การขยายกำลังการผลิต และรายได้ของประเทศ ใช้ทรัพยากรจากภายในประเทศ ทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชน ใช้ทรัพยากรต่างประเทศ (ทุนเทคโนโลยีและสินค้า และบริการต่างๆ) อย่างหนักและโดยเสรี 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ยุทธศาสตร์หรือแนวทางหลักที่ประเทศไทยใช้ ในการดำเนินการเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายทางเศรษฐกิจ (3) ยุทธศาสตร์ในการขยายกำลังการผลิต และรายได้ของประเทศ ก็โดยการส่งเสริมการลงทุนอย่างถึงขนาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการลงทุนขนาดใหญ่ ที่ต้องใช้เงินลงทุนทั้งจากภายในประเทศ และภายนอกประเทศ จำนวนมหาศาล คำถาม หากประเทศมีการพัฒนาโดยการส่งเสริมการลงทุน ตามหลักเศรษฐกิจเสรี ซึ่งจะทำให้เศรษฐกิจเติบโตยิ่งขึ้น จะเป็นหลักประกันได้หรือไม่ว่า การกระจายรายได้ของคนในระบบเศรษฐกิจจะดีขึ้น? เพราะเหตุใด? 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการพัฒนาที่ผ่านมา "ประเทศ" มีรายได้มากขึ้นแล้ว เมื่อเศรษฐกิจของ "ประเทศ" ขยายการเจริญเติบโต คนส่วนใหญ่ของประเทศ ที่เป็นชาวไร่ชาวนา และประชาชนในชนบท รวมทั้งคนยากจนในเมือง ก็ยังด้อยพัฒนาทางเศรษฐกิจ ยังอยู่ในสภาพที่อ่อนแอ และพึ่งตนเองไม่ได้ และโอกาสที่จะออกจากชนบท เพื่อไปมีชีวิตที่ดีกว่าในเมืองก็ยังทำได้ยาก 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการพัฒนาที่ผ่านมา ผู้คนส่วนใหญ่ดังกล่าว จึงยังมีระดับการดำเนินชีวิตที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลง ยังคงยากจน หรือมีชีวิตความเป็นอยู่เพียงในระดับพอยังชีพ คนจำนวนมากยังต้องว่างงาน หรือต้องมีอาชีพขายบริการ หรือค้าประเวณีทั้งหญิง และชาย และอาชีพผิดกฎหมายอื่นๆ ตลอดจนช่องว่าง และความเหลื่อมล้ำในฐานะ และความสามารถทางเศรษฐกิจ ระหว่างคนร่ำรวยและคนยากจน นอกจากจะไม่ได้ลดลงแล้ว แต่นับวันยิ่งห่างไกลกันมากขึ้น ทรัพยากรของประเทศ ก็ร่อยหรอลงมาก และมีปัญหาสิ่งแวดล้อม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการพัฒนาที่ผ่านมา ภาระหนี้สินของประชาชน และประเทศก็ยังมีอยู่มาก และมีแนวโน้มที่จะมากขึ้นไปอีก ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ก็ไม่ได้ดีขึ้น ประเทศก็ยังไม่สามารถพึ่งตน เองได้ ไม่สามารถเป็นอิสระจากการพึ่งต่างประเทศ แต่ยังต้องพึ่งต่างประเทศอย่างหนักอยู่อีกต่อไป 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงิน (Monetary Policy) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เป้านโยบายเศรษฐกิจมีหลายประการ นโยบายการเงิน หมายถึง การหามาตรการหรือเครื่องมือทางการเงินมาจัดการปริมาณเงิน(MS)ของประเทศให้เหมาะสมสอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจประเทศ ธนาคารกลางและธปท.จะกำหนดมาตรการและเครื่องมือการเงินต่างๆเพื่อควบคุมปริมาณเงินให้สมดุลให้บรรลุเป้าหมายของนโยบายการเงินและสอดคล้องกับเป้าหมายเศรษฐกิจประเทศ เป้านโยบายเศรษฐกิจมีหลายประการ ในการดำเนินนโยบายการเงินจะตั้งเป้านโยบายการเงินให้สอดคล้องกับเป้าหมายเศรษฐกิจเพียงประเด็นเดียว คือ “การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ”(การรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอก) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงิน ยุคคลาสสิก ระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ ราคาสินค้ามีเสถียรภาพ รัฐบาลไม่แทรกแซงการประกอบการของเอกชน การดำเนินนโยบายการเงินจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและระบบเศรษฐกิจจะมีเสถียรภาพในระยะยาว ยุคเคนส์ ระบบเศรษฐกิจไม่จำเป็นต้องเกิดการจ้างงานเต็มที่ การลงทุนอาจไม่เท่ากับเงินออม และเกิดการว่างานได้ในระบบเศรษฐกิจ การดำเนินนโยบายการเงินจึงมีประสิทธิภาพระยะสั้นเพื่อแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ และเงินฝืด หรือรักษาระดับราคาสินค้าให้มีเสถียรภาพ แต่ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำแล้วนโยบายการเงินจะด้อยประสิทธิภาพกว่านโยบายการคลัง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงิน ยุคสำนักการเงินนิยม(ฟรีดแมน) รัฐบาลไม่ควรแทรกแซงการทำงานของระบบเศรษฐกิจ เมื่อเกิดปัญหาเศรษฐกิจเช่นเศรษฐกิจถดถอย เศรษฐกิจตกต่ำ จึงนำเครื่องนโยบายการเงินมาใช้ในการแก้ไขปัญหา เพื่อควบคุมปริมาณเงินในระบบให้สมดุล และส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพในระยะยาว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การดำเนินมาตรการทางการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพภายในประเทศ การรักษาระดับราคาสินค้าให้เหมาะสมด้วยการตั้งเป้าเงินเฟ้อ(Inflation Target) ธปท. จะดำเนินนโยบายการเงินเชิงอนุรักษ์ 2 ประเภท คือ เครื่องมือการเงินเชิงปริมาณ (หน้าต่างการเงิน=Loan Window 1.1 การซื้อหรือขายหลักทรัพย์ 1..2 การเพิ่มหรือลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย 1.3 การเพิ่มหรือลดอัตรารับช่วงซื้อลด 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
2. เครื่องมือการเงินเชิงคุณภาพ 2.1 การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค (ดอกเบี้ยผ่อนส่ง ระยะเวลาในการผ่อนส่ง 2.2 การควบคุมเครดิตเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ (การเปลี่ยนแปลงระดับMargin ในการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2.3 การชักชวนธนาคารพาณิชย์ให้ปฏิบัติตาม(ให้ปล่อยสินเชื่อธุรกิจ SMEs ชี้นำระดับอัตราดอกเบี้ยต่ำในตลาดเงิน ลดการปล่อยสินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ฯลฯ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เครื่องมือนโยบายการเงินเพื่อการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอก รักษาระดับทุนสำรองระหว่างประเทศให้เหมาะสม รักษาดุลการชำระเงินให้สมดุล รักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนให้มีเสถียรภาพ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การดำเนินนโยบายการเงินเสรีทางการเงินของประเทศไทย เริ่มดำเนินการเปิดเสรีปี2533(เตรียมการปี2530-2532) การผ่อนคลายการควบคุมการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ การยกเลิกเพดานดอกเบี้ยของสถาบันการเงินต่างๆ การจัดตั้งกิจการวิเทศธนกิจ (BIBF) ออกพ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การจัดตั้งชมรมผู้ค้าตราสารหนี้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แผนการเงินของประเทศไทยหลังเปิดเสรีทางการเงิน ขยายขอบเขตการดำเนินงานของสถาบันการเงินให้ได้ระดับมาตรฐานสากล พัฒนาโครางสร้างของตลาดการเงินทั้งตลาดเงินและตลาดทุนให้สมบูรณ์แบบ สนับสนุนการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค โดยสนับสนุนให้ขยายการบริการทางการเงินด้วยวิธีขยายสาขาการบริการสู่ภูมิภาคมากขึ้น ปรับปรุงประสิทธิภาพในการกำกับดูแลสถาบันการเงินและระบบการเงิน พัฒนาบุคลากรและเสริมสร้างจรรยาบรรณในการทำธุรกิจการเงิน มุ่งพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคเอเชีย 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การดำเนินนโยบายการเงินแบบกำหนดเป้าหมายเงินเฟ้อ (Inflation Target) กรอบและนโยบายในการดำเนินงาน กำหนดการรักษาเสถียรภาพทางด้านราคาเป็นเป้าหมายหลักของนโยบายการเงิน ประกาศเป้าหมายเงินเฟ้อและตรวจสอบได้ ประกาศอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น “Key Policy Rate” หรืออัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาล1วัน ซึ่งเป็นดอกเบี้ยชี้นำทางการเงิน(ส่งสัญญาณการแก้ปัญหาเงินเฟ้อหรือเงินฝืดของประเทศ) เปิดเผยข้อมูลทางการเงินและพยากรณ์ GDPตามสภาวะเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เครื่องมือทางการเงินที่ใช้ในการดำเนินนโยบายการเงินแบบตั้งเป้าเงินเฟ้อ ประกาศเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาล(BOT-REPO) เปลี่ยนแปลงปริมาณสินเชื่อในระบบในตลาดธนาคารพาณิชย์(ตลาดเงิน) เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์และตราสารหนี้ในตลาดทุน การเปลี่ยนแปลงระดับอัตราแลกเปลี่ยน การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระบบการเงินและการกู้ยืมของภาคธุรกิจและผู้บริโภค 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย ปัจจุบันเศรษฐกิจไทยกำลังฟื้นตัว(Recovery) การดำเนินงานด้านนโยบายการเงิน ธปท.จะดำเนินนโยบายการเงินผ่อนคลาย(Easy Money Policy) โดยมุ่งหวังให้ปริมาณเงินและปริมาณเครดิตเพิ่มขึ้น เพื่อเสริมสภาพคล่องในระบบเศรษฐกิจและเพื่อหลีกเลี่ยงสภาวะเงินฝืด ธปท.จะใช้เครื่องมือทางการเงิน 3 มาตรการ ดังนี้คือ 1. หน้าต่างการเงิน (Loan Window) โดยธปท.จะลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน(Bank Rate)ให้กับสถาบันการเงินที่มาขอกู้ยืมกับธปท.ระยะสั้นไม่เกิน 7 วัน (ณ 27 เมษายน2545 อัตราดอกเบี้ยมารฐานเท่ากับร้อยละ4) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย 2. ตลาดซื้อคืนพันธบัตรหรือตลาดอาร์/พี (Repurchase Market) ธปท. จะทำการซื้อขายพันธบัตรระยะสั้นไม่เกิน 14 วัน ปัจจุบันอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 1.25% (ก.ค.2546) (ธปท.เปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยลดลงจากเดิมเท่ากับ2.25%,2%,1.75%และ1.25% ตามลำดับ) 3. ธปท. ให้สถาบันการเงินกู้ยืมผ่านตลาดซื้อคืนพันธบัตรนอกเวลาทำการ โดยคิดอัตราดอกเบี้ยแพงกว่าในตลาดอาร์/พีแบบปกติ นั่นคือ ดอกเบี้ยอาร์/พีแบบปกติ+ด้วยอัตรา 2.5% 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
มาตรการทางการเงินที่ธปท.ใช้ในการแก้ปัญหาสถาบันการเงินไทยปัจจุบัน เพิ่มทุนตามเกณฑ์ BIS 8.5% ควบกิจการ เสริมสร้างความมั่นคงให้สถาบันการเงินด้วยการหาผู้ร่วมทุน แก้ไขปัญหาบริษัทเงินทุนและบริษัทหลักทรัพย์58แห่ง ประกาศพ.ร.บ.ล้มละลาย ทำการประนอมหนี้ ทำการปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูกิจการที่มีปัญหาหนี้สินที่เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยน(ณ 2 ก.ค. 2540) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ปัจจุบันธนาคารแห่งประเทศไทยมีเป้าหมายสำคัญในการดำเนินนโยบายการเงิน 3 ประการ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงิน (แก้ปัญหาเงินเฟ้อและเงินฝืด ดูแลดุลการชำระเงิน อัตราแลกเปลี่ยนและทุนสำรองระหว่างประเทศให้เหมาะสม) เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันการเงิน (มาตรการกำหนดเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงที่สถาบันการเงินต้องดำรง จัดตั้งสถาบันประกันเงินฝากเพื่อคุ้มครองผู้ฝากเงินรายย่อย) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ปัจจุบันธนาคารแห่งประเทศไทยมีเป้าหมายสำคัญในการดำเนินนโยบายการเงิน 3 ประการ 3. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม(มาตรการทางการเงินเช่น การรับช่วงซื้อลดตั๋วสัญญาใช้เงินของภาคเศรษฐกิจที่รัฐบาลสนับสนุนคือ เกษตร อุสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดย่อม และผู้ประกอบการส่งออก กำหนดนโยบายให้ธนาคารพาณิชย์เพิ่มสินเชื่อเกษตรกร ให้ความช่วยหรือบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ฯลฯ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ในเชิงทฤษฎีนั้นนโยบายการเงินมีประสิทธิภาพระดับหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินและปริมาณเครดิตตามที่ต้องการได้ แต่ในทางปฏิบัติแล้วนโยบายการเงินยังมีข้อจำกัด คือ นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย(Easy Money Policy)ใช้ไม่ค่อยได้ผลในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ แต่จะใช้ได้ดีในสภาวะเศรษฐกิจฟื้นตัวเพราะธปท.ไม่ สามารถบังคับให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อเพื่อเพิ่มปริมาณเงินและปริมาณเครดิตได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ นโยบายการเงินแบบเข้มงวด(Tight Money Policy)จะใช้ได้ผลเมื่อระบบเศรษฐกิจเกิดเงินเฟ้อรุนแรง(สภาวะฟองสบู่) เพราะนโยบายการเงินแบบเข้มงวดของธปท.จะมีผลบังคับทันทีให้ธนาคารพาณิชย์ลดปริมาณเงินและเครดิตลง ซึ่งตรงกันข้ามกับภาวะเงินฝืดหรือเศรษฐกิจซบเซา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการเงิน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพนโยบายการเงิน (กรณีนโยบายการเงินแบบขยายตัว) กรณีที่มีความแตกต่างของความชันเส้น LM r LM0 LM1 r LM0 LM1 r0 r0 E0 E0 E1 r1 E1 r1 IS0 IS0 Y Y Y0 Y1 Y0 Y1 LM0 r r LM1 LM0 r0 r0 E0 E0 LM1 r1 E1 IS0 IS0 Y Y 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี Y0Y1 Y0
ประสิทธิภาพนโยบายการเงิน (กรณีนโยบายการเงินแบบขยายตัว) กรณีที่มีความแตกต่างของความชันเส้น IS r LM0 r LM0 LM1 LM1 E0 E0 r0 r0 r1 r1 E1 E1 IS0 Y Y Y0 Y0 Y1 r LM0 r LM0 LM1 LM1 E0 r0 E0 r0 E1 E1 IS0 r1 IS0 Y Y 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี Y0 Y1 Y0 Y1
สรุปประสิทธิภาพของการดำเนินนโยบายการเงิน-การคลัง และความชันของเส้น IS และ LM กรณีการใช้นโยบายการเงิน นโยบายการเงิน ( ) IS LM ชัน ไม่ได้ผล ได้ผล ลาด 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
Krugman กับเศรษฐศาสตร์ของเคนส์ ว่าด้วยภาวะกับดักสภาพคล่อง อภิชาต สถิตนิรามัย คอลัมน์ มองซ้ายมองขวา ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ปีที่ 33 ฉบับที่ 4116 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวคิดของเคนส์ (Keynesian) เคนส์เชื่อว่าภาวะเศรษฐกิจตกต่ำจะเกิดขึ้นได้ในระบบเศรษฐกิจหนึ่งๆ เนื่องจากความต้องการสินค้าและบริการ (ดีมานด์) จะมีน้อยกว่าความสามารถในการผลิตสินค้า (ซัพพลาย) ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อนักธุรกิจคาดว่าเศรษฐกิจจะแย่ จึงลดการลงทุนลง เป็นต้น ดังนั้นการว่างงานจึงเป็นสิ่งที่ตามมา ในภาวะเช่นนี้รัฐบาลสามารถใช้เครื่องมือทางการเงินหรือการคลังแบบขยายตัวฉีดเข้าไปในระบบเศรษฐกิจเพื่อเป็นการยกระดับอุปสงค์มวลรวม ทดแทนการลงทุนที่ลดลงของภาคเอกชน ซึ่งก็คือการแก้ปัญหาการว่างงานนั่นเอง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
กับดักสภาพคล่อง (Liquidity Trap) เกิดขึ้นในภาวะที่อัตราดอกเบี้ยของระบบเศรษฐกิจมีค่าต่ำมากๆ ภายใต้สภาวะเช่นนี้การดำเนินนโยบายการเงินเพื่อกระตุ้นระบบเศรษฐกิจจะใช้ไม่ได้ผล ดังนั้น ควรใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว กลไกอัตโนมัติที่จะฉุดเศรษฐกิจให้พ้นจากภาวะตกต่ำ เมื่อภาวะถดถอยเกิดขึ้น ซึ่งแปลว่ามีดีมานด์น้อยกว่าซัพพลาย ดังนั้นในระยะยาวแล้วระดับราคาจะต้องลดลง ผู้คนก็จะบริโภคมากขึ้น ผู้ผลิตก็จะผลิตเพิ่มขึ้นทำให้การจ้างงานกลับเข้าระดับดุลยภาพที่ไม่มีการว่างงานอีกต่อไป ภายใต้ภาวะนี้กลไกอัตโนมัติที่จะฉุดเศรษฐกิจให้พ้นจากภาวะตกต่ำแม้กระทั่งในระยะยาวก็จะไม่ทำงาน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
กับดักสภาพคล่อง (Liquidity Trap) กระบวนการปรับตัวนี้จะไม่เกิดขึ้น เนื่องจากระดับราคาที่ลดลงนั้นจะไม่ทำให้การบริโภคเพิ่มขึ้นในระดับที่จะก่อให้เกิดการจ้างงานเต็มที่ได้อีกครั้งหนึ่ง ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าระดับหนี้สินของครัวเรือนมีสูงเกินไป กล่าวคือ เมื่อราคาลดลงเราอาจจะรู้สึกว่าเรารวยขึ้น (real balance effect) เราจึงบริโภคมากขึ้น ในอีกทางหนึ่งนั้น เมื่อราคาลดลงแต่เราเป็นหนี้อยู่ หนี้ของเราจึงมีมูลค่าหนี้ที่แท้จริงสูงขึ้นด้วย (debt deflation) เราจึงบริโภคน้อยลง ณ จุดนี้ Krugman เชื่อว่าผลของ debt deflation จะมีค่ามากกว่า real balance effect ในอเมริกา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพนโยบายการเงินในช่วงกับดักสภาพคล่อง ในภาวะที่ไม่ติดกับดับสภาพคล่อง ธนาคารกลางอเมริกาก็อาจจะแก้ปัญหาโดยการลดดอกเบี้ยลงเพื่อกระตุ้นให้ระดับราคาเพิ่มขึ้น (สร้างภาวะเงินเฟ้อขึ้น) เพื่อไม่ให้ภาวะ debt deflation เกิดขึ้น แต่เอาเข้าจริงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางอเมริกาในปัจจุบันก็มีค่าเกือบจะเท่ากับศูนย์อยู่แล้ว มันจึงเป็นไปไม่ได้ที่จะลดดอกเบี้ยต่อไป หากจะทำให้ระดับราคาเพิ่มขึ้น ทางเดียวที่ยังเหลืออยู่ก็คือการที่ธนาคารกลางต้องพิมพ์เงินฉีดเข้าไปในระบบเศรษฐกิจ เพื่อทำให้เกิดภาวะเงินเฟ้อ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพนโยบายการเงินในช่วงกับดักสภาพคล่อง ธนาคารกลางอเมริกาได้ "พิมพ์เงิน" เพิ่มขึ้นมากในช่วงที่ผ่านมา แต่ภาวะเงินเฟ้อก็ยังไม่เกิดขึ้นอยู่ดี พูดภาษาเทคนิคก็คือ ฐานเงิน (monetary base) ของอเมริกาเพิ่มขึ้นมาก แต่ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (M2) กลับไม่เพิ่มขึ้น หรือพูดอีกแบบคือตัวทวีคูณทางการเงิน (monetary multiplier) มีค่าน้อยกว่าหนึ่ง สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะสถาบันการเงินของอเมริกานั่งทับเงินที่ถูกพิมพ์เพิ่มขึ้นไว้โดยมิได้เอาไปปล่อยกู้ต่อ โดยสรุป เครื่องมือทางการเงินของรัฐบาลก็ใช้ไม่ได้แล้ว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพนโยบายการเงินในช่วงกับดักสภาพคล่อง ข้อสรุปที่ว่าภายใต้ภาวะกับดับสภาพคล่อง ระบบเศรษฐกิจไม่มีกลไกอัตโนมัติในการปรับตัว และนโยบายการเงินไม่มีประสิทธิผลในการแก้ปัญหา เศรษฐกิจตกต่ำ สิ่งเดียวที่รัฐบาลเหลืออยู่คือการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายการคลังขยายตัว แต่นี่ก็ไม่ได้แปลว่าเครื่องมือนี้จะเป็นยาวิเศษจนทำให้เศรษฐกิจออกจากภาวะตกต่ำได้อย่างรวดเร็ว มันเพียงแต่ช่วยให้เศรษฐกิจไม่ตกต่ำมากไปกว่านี้เท่านั้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลกระทบของการใช้นโยบายการเงิน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
กรณีการใช้นโยบายการเงินแบบขยายตัว E1 E0 r IS0 LM0 r0 r1 LM1 Y Y0 Y1 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
กรณีการใช้นโยบายการเงินแบบหดตัว(ตึงตัว) r LM1 LM0 E1 r1 r0 E0 IS0 Y Y1 Y0 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
กรณีศึกษา: การใช้มาตรการสำรองเงินทุนไหลเข้า 30%เพื่อสกัดการเก็งกำไรค่าเงินบาท หมายเหตุ ระดับรายได้อาจเพิ่มขึ้น ลดลง หรือคงที่ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดการเปลี่ยนแปลงของเส้น IS และ LM ส่วนอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอย่างเดียว 1 r LM1 E2 LM0 r2 E1 r1 r0 E0 IS1 2 IS0 Y Y1 Y0 -ภายหลังมาตรการดังกล่าว ทำให้ -เงินทุนไหลออกนอกประเทศจากที่ขาดความมั่นใจ ทำให้ปริมาณเงินลดลง เส้น LM Shift ซ้าย -การที่เงินไหลออก และ/หรือเงินทุนไหลเข้าลดลง ทำให้อัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้การส่งออกเพิ่มขึ้น การนำเข้าลดลง เส้น IS Shift ขวา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงินกับการรักษาเสถียรภาพระดับราคา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงินบทบาทหลักคือ ดูแลเสถียรภาพ เสถียรภาพใน ที่นี้รวมทั้งเงินเฟ้อด้วยและดูแลเสถียรภาพบัญชี ดุลบัญชีเดินสะพัดเวลาที่เราติดต่อค้าขายกับต่างประเทศต้องใช้นโยบายการเงิน แน่นอนบทบาทรองก็ต้องกระตุ้นเศรษฐกิจการเงินเช่นเดียวกัน ปัจจุบันกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อก็คือ ดูแลให้เงินเฟ้ออยู่ในความดูแล 0 - 3.5 เครื่องที่ใช้คือ การคืนเงิน/ทอนเงินผ่านระบบเศรษฐกิจ ผ่านตัวกลางคือ สถาบันการเงินผ่านธนาคารพาณิชย์ การคาดการณ์เงินเฟ้อของประชาชนนักธุรกิจทั่ว ๆไป จะมีผลต่ออัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ว่า เงินเฟ้อจะสูงขึ้น จับจ่ายใช้สอยเร็วขึ้น สินค้าขาดตลาดมากขึ้น ราคาก็เพิ่มขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เป้าหมายเงินเฟ้อที่ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้เรียกว่า เป้าหมายอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน แต่จะหักเฉพาะรายการที่เป็นอาหารเสริมและพลังงาน เพื่อดูแลเงินเฟ้อระยะยาว สาเหตุที่เราหักอาหารเสริมและพลังงานเพราะว่า 2 รายการเป็นรายการที่มีการผันผวนมากที่สุดตามแรงกดดันภายนอก ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่ต้องการให้การขึ้นของอัตราดอกเบี้ยผันผวนตาม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เครื่องมือหลักเวลาที่คณะกรรมการนโยบายการเงินเข้มงวดนโยบายการเงินสิ่งที่เขาตัดสินใจก็คือ อัตราดอกเบี้ยที่ใช้ในเวลาที่ประกาศกับสาธารณะคือ อัตราดอกเบี้ย (RP) ตลาดซื้อคืน 1 วัน ตลาดซื้อคืนหมายความว่า เวลาที่ธนาคารพาณิชย์ต้องการกู้เงินจากธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ก็จะมีธนบัตรรัฐบาล นำมาขายที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนบัตรนั้นก็จะอยู่ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารนั้นก็รับเงินไป แต่ไม่จบแค่นั้นมีสัญญาที่จะมาคืนพร้อมอัตราดอกเบี้ยหมายความว่า อีก 1 วัน สมมุติว่า ธนาคารพาณิชย์นำธนบัตรรัฐบาล มาขายธนาคารแห่งประเทศไทย 100 บาท ธนาคารแห่งประเทศไทยก็รับเงินกลับมา แต่มีสัญญาว่าอีก 1 วัน ธนาคารจะต้องเอามาซื้อธนบัตรนี้คืน 100 บาท บวกอัตราดอกเบี้ยเป็น 1.75 % ก็ต้องจ่ายธนาคารแห่งประเทศไทย 101.75 สตางค์ นี้เป็นกลไกในการกู้เงิน ดูดเงิน ปล่อยเงิน ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยทำกับสถาบันการเงิน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การขึ้นลดดอกเบี้ยว่าด้วยทฤษฎีจะมีผลกับ 4 กลไกหลักคือ การขึ้นลดดอกเบี้ยว่าด้วยทฤษฎีจะมีผลกับ 4 กลไกหลักคือ 1) ดอกเบี้ยนโยบายที่ขึ้นลดจะมีผลกับอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดทั่วไป 2) การขึ้นลดดอกเบี้ยจะมีผลกับราคาสินทรัพย์ 3) การขึ้นลดดอกเบี้ยจะมีผลกับอัตราแลกเปลี่ยน ค่าเงินบาท 4) การขึ้นลดดอกเบี้ยจะมีผลกับการคาดการณ์ค่าครองชีพของนักธุรกิจ 4 ช่องทางนี้จะมีผลกับการใช้สอยและมีผลกระทบต่อราคาสินค้าทั่วไป 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลัง นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) หมายถึง นโยบายที่เกี่ยวกับการใช้รายได้ และรายจ่ายของรัฐบาลเป็นเครื่องมือให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนกับรัฐบาลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการกระจายรายได้ให้เป็นธรรม เสริมสร้างความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เครื่องมือนโยบายการคลัง งบประมาณรายจ่าย งบประมาณรายรับ หนี้สาธารณะ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เครื่องมือของนโยบายการคลัง งบประมาณรายจ่าย จำแนกเป็นงบลงทุนและงบประจำ งบลงทุน(Capital expenditure) หรือรายจ่ายเพื่อการลงทุน = Gk งบประจำ (Current expenditure) หรือรายจ่ายเพื่อการบริโภค = Gc 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จำแนกเป็นรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าและบริการ(exhaustive expenditure) เงินโอน(transfer expenditure) เงินบำเหน็จ บำนาญ เงินชดเชยการว่างงาน เงินสงเคราะห์ต่างๆ เงินช่วยเหลือให้แก่รัฐบาลต่างประเทศ สมาคม มูลนิธิ ซื้อทรัพย์สินเก่า จ่ายค่าตอบแทนที่ดินเวนคืน การซื้อหุ้นเก่า เป็นต้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
รายได้จากการเก็บภาษีอากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล งบประมาณรายรับ แบ่งเป็น 2 ประเภท รายได้จากการเก็บภาษีอากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ฯลฯ อย่างไรก็ตาม รายได้จากภาษีอากรยังเป็นรายได้ส่วนใหญ่ของรัฐบาล 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร รายได้จากรัฐพาณิชย์ รายได้จากการขายหลักทรัพย์ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าธรรมเนียมประเภทต่างๆ ฯลฯ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ภาษี หมายถึง สิ่งที่รัฐบาลบังคับจัดเก็บจากประชาชน และนำไปใช้ประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม โดยไม่มีสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ผู้เสียภาษี ประเภทภาษี ภาษีทางตรง ผู้เสียภาษีรับภาระภาษีทั้งหมด เช่น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีประกันสังคม ภาษีมรดก เป็นต้น ภาษีทางอ้อม ผู้เสียภาษีไม่ได้รับภาระภาษีทั้งหมด หรือผลักภาระภาษีไปยังผู้อื่นได้ เก็บจากฐานการใช้จ่าย หรือซื้อขาย เช่น ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีการค้า ภาษีทรัพย์สิน เป็นต้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
โครงสร้างอัตราภาษี อัตราภาษีแบบก้าวหน้า (Progressive) คืออัตราภาษีส่วนเพิ่ม มีค่ามากกว่าอัตราภาษีเฉลี่ย เมื่อฐานภาษีเพิ่มขึ้น อัตราภาษีแบบคงที่ (Proportional) คืออัตราภาษีส่วนเพิ่ม มีค่าเท่ากับอัตราภาษีเฉลี่ย ไม่ว่าฐานภาษีเพิ่มขึ้นหรือลดลง อัตราภาษีแบบถดถอย (Regressive) คืออัตราภาษีส่วนเพิ่ม มีค่าน้อยกว่าอัตราภาษีเฉลี่ย เมื่อฐานภาษีเพิ่มขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ฐานภาษี คือ สิ่งที่รองรับการคำนวณภาษี เช่น การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฐานภาษี คือ รายได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สรุปการนำภาษีไปใช้ ภาษีทางอ้อม เป็นภาษีที่มีอัตราถดถอย ดังนั้น ผู้ที่มีรายได้ต่างกัน ซื้อของชนิดเดียวกันต้องเสียภาษีเท่ากัน ภาษีทางตรง เป็นภาษีที่มีอัตราก้าวหน้า นั้นคือ อัตราภาษีจะสูงเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
หนี้สาธารณะ ความหมาย รัฐบาลกู้เงินจากสถาบันการเงินเอกชนภายในประเทศและนอกประเทศ แบ่งตามเวลา เป็นหนี้สาธารณะระยะสั้นและระยะยาว วัตถุประสงค์ เพื่อชดเชยงบประมาณขาดดุล เพื่อลงทุนในโครงการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิต 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประเภทของนโยบายการคลัง นโยบายการคลังแบบขยายตัวหรือใช้งบประมาณขาดดุล โดยมีรายจ่ายรัฐบาลมากกว่ารายรับ ใช้ในกรณีเศรษฐกิจตกต่ำ นโยบายการคลังแบบหดตัวหรือใช้งบประมาณเกินดุล โดยมีรายรับมากกว่ารายจ่าย ใช้ในกรณีเศรษฐกิจฟองสบู่ เกิดภาวะเงินเฟ้อ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังมีเป้าหมายหลัก ส่งเสริมการกระจายรายได้ให้เป็นธรรม เสริมสร้างความจำเริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการคลัง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ประสิทธิภาพของนโยบายการคลัง(กรณีนโยบายการคลังแบบขยายตัว) กรณีที่มีความแตกต่างของความชันเส้น LM r r LM r1 E1 E1 LM r1 r0 E0 r0 E0 IS1 IS1 IS0 IS0 Y Y Y0 Y0 Y1 r r LM LM E1 r1 E0 E1 E0 r0 r0 r0 IS1 IS1 IS0 IS0 Y Y 15/11/61 Y0 Y1 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี Y0 Y1
ประสิทธิภาพของนโยบายการคลัง(กรณีนโยบายการคลังแบบขยายตัว) กรณีมีความแตกต่างของความชันเส้น IS LM IS0 IS1 LM r1 E1 E1 r1 r0 r0 r0 E0 E0 IS1 IS0 Y0 Y1 Y0 Y1 LM LM r1 E0 E1 r0 r0 IS0 r0 E0 IS1 IS0 15/11/61 Y0 Y1 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี Y0
นโยบายการคลัง ( ) IS LM ชัน ได้ผล ไม่ได้ผล ลาด กรณีการใช้นโยบายการคลัง นโยบายการคลัง ( ) IS LM ชัน ได้ผล ไม่ได้ผล ลาด 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลกระทบของการใช้นโยบายการคลัง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว(Expansionary fiscal policy) ที่มีต่อระดับรายได้ประชาชาติและอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ E1 E0 r IS0 IS1 LM0 a r1 r0 Y0 Y1 Y2 Y เพิ่มเติม ผลกระทบจากการใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัวที่ทำให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ลดโอกาสในการลงทุนภาคเอกชนลง เรียก Crowding Out Effect (ช่วง r0 r1 จาก a E1 ทำให้ Y2 Y1) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
G IS Shift ขวา (จาก IS0 เป็น IS1) Y (จาก Y1 เป็น Y2) Mt MD MD > MS r (จากr0เป็นr1) I (เคลื่อนบนเส้น IS1 จากจุด a ไปE2) Y (จากY2เป็นY1) การที่ r Ms และการที่ Y Mt MD MD = MS ดุลยภาพใหม่อยู่ที่จุด E1 ณ ระดับ r1 และ Y1 สรุป ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว( G ) จะทำให้เศรษฐกิจขยายตัว Y (จาก Y0 เป็น Y1) และอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดเพิ่มสูงขึ้น r (จาก r0 เป็น r1 ) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary fiscal policy) ที่มีต่อระดับรายได้ประชาชาติและอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ r LM0 E0 r0 r1 a E1 IS0 IS1 Y2 Y1 Y0 Y 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
G IS Shift ซ้าย (จาก IS1 เป็น IS2) Y (จาก Y1 เป็น Y2) Mt MD MD < MS r (จากr0เป็นr1) I (เคลื่อนบนเส้น IS1 จากจุด E2ไปE1) Y (จากY2เป็นY1) การที่ r Ms และการที่ Y Mt MD MD = MS ดุลยภาพใหม่อยู่ที่จุด E1 ณ ระดับ r1 และ Y1 สรุป ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว( G ) จะทำให้เศรษฐกิจหดตัว Y (จาก Y0 เป็น Y1) และอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดลดลง r (จาก r0 เป็น r1 ) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวคิดนโยบายการคลัง กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ปัจจัยที่จำเป็นและพอเพียงต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจยั่งยืน 1) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2) การสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกตลาด 3) การดูแลการนำกฎหมายมาปฏิบัติใช้อย่างจริงจัง 4) การลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทบาทของนโยบายการเงินการคลังก็คือ การรักษาให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ ภาครัฐดูแลให้การปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายกำหนดไว้ ดูแลกติกาความโปร่งใสเพื่อสร้างแรงจูงใจทางเศรษฐกิจให้เกิดกระบวนการสะสมทุนของภาคเอกชนผนวกกับกลไกตลาดที่มีประสิทธิภาพบวกกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิต ที่เกิดจากการลงทุนทางด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจไปเรื่อย ๆ นโยบายการคลังก็ดูแลเสถียรภาพของเศรษฐกิจ ไม่ใช่ว่าจะใช้เงินอย่างเดียว เสถียรภาพหลักที่นโยบายการคลังจะต้องดูแลคือ เรื่องของความยั่งยืนทางการคลัง วินัยการคลัง หนี้สาธารณะ หนี้ของภาครัฐไม่ควรจะสูงเกินไป หากรัฐบาลจะใช้จ่ายเงินมากเมื่อเทียบกับการเก็บรายได้เข้ามา หากใช้จ่ายมากก็เก็บรายได้เข้ามา หากจะเป็นหนี้จะต้องดูแลไหม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงินบทบาทหลักคือ ดูแลเสถียรภาพ เสถียรภาพใน ที่นี้รวมทั้งเงินเฟ้อด้วยและดูแลเสถียรภาพบัญชี ดุลบัญชีเดินสะพัดเวลาที่เราติดต่อค้าขายกับต่างประเทศต้องใช้นโยบายการเงิน แน่นอนบทบาทรองก็ต้องกระตุ้นเศรษฐกิจการเงินเช่นเดียวกัน ปัจจุบันกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อก็คือ ดูแลให้เงินเฟ้ออยู่ในความดูแล 0 - 3.5 เครื่องที่ใช้คือ การคืนเงิน/ทอนเงินผ่านระบบเศรษฐกิจ ผ่านตัวกลางคือ สถาบันการเงินผ่านธนาคารพาณิชย์ การคาดการณ์เงินเฟ้อของประชาชนนักธุรกิจทั่ว ๆไป จะมีผลต่ออัตราเงินเฟ้อคาดการณ์ว่า เงินเฟ้อจะสูงขึ้น จับจ่ายใช้สอยเร็วขึ้น สินค้าขาดตลาดมากขึ้น ราคาก็เพิ่มขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว(Expansionary fiscal policy) ที่มีต่อระดับรายได้ประชาชาติและอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ E1 E0 r IS0 IS1 LM0 a Y0 Y1 Y2 Y r1 r0 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
G IS Shift ขวา (จาก IS0 เป็น IS1) Y (จาก Y1 เป็น Y2) Mt MD MD > MS r (จากr0เป็นr1) I (เคลื่อนบนเส้น IS1 จากจุด a ไปE2) Y (จากY2เป็นY1) การที่ r Ms และการที่ Y Mt MD MD = MS ดุลยภาพใหม่อยู่ที่จุด E1 ณ ระดับ r1 และ Y1 สรุป ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว( G ) จะทำให้เศรษฐกิจขยายตัว Y (จาก Y0 เป็น Y1) และอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดเพิ่มสูงขึ้น r (จาก r0 เป็น r1 ) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว ที่มีต่อระดับรายได้ประชาชาติและอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ a E0 E1 r IS1 IS0 LM0 Y1 Y2 Y0 Y r1 r0 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
G IS Shift ซ้าย (จาก IS1 เป็น IS2) Y (จาก Y1 เป็น Y2) Mt MD MD < MS r (จากr0เป็นr1) I (เคลื่อนบนเส้น IS1 จากจุด E2ไปE1) Y (จากY2เป็นY1) การที่ r Ms และการที่ Y Mt MD MD = MS ดุลยภาพใหม่อยู่ที่จุด E1 ณ ระดับ r1 และ Y1 สรุป ผลของการใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว( G ) จะทำให้เศรษฐกิจหดตัว Y (จาก Y0 เป็น Y1) และอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดลดลง r (จาก r0 เป็น r1 ) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มาตรการรายจ่ายรัฐบาล โดยการจ่ายไปในโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ(infrastructure) อันเป็นรายจ่ายเพื่อการลงทุน มาตรการภาษี โดยการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีนำเข้าวัตถุดิบและเครื่องจักรเพื่อส่งเสริมการลงทุน ยกเว้นหรือชดเชยภาษีอากรสินค้าส่งออกเพื่อส่งเสริมการส่งออก ตั้งอัตราภาษีขาเข้าสูงเพื่อลดการนำเข้า 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การใช้นโยบายการเงินร่วมกับนโยบายการคลัง 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
-Pure Fiscal Policy เกิดในกรณี Liquidity trap ด้วย -G -MS -r คงที่ -Y -เกิด นโยบายการคลังทำงานได้อย่างเต็มที่/สมบูรณ์ (Pure Fiscal Policy) เมื่อใช้นโยบายการคลังร่วมกับนโยบายการเงิน LM0 r 2 LM1 E1 r1 r0 E0 E2 IS1 IS0 1 Y Y0 Y1 Y2 -Pure Fiscal Policy เกิดในกรณี Liquidity trap ด้วย 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การใช้นโยบายการคลังและนโยบายการเงิน เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจภายใต้สถานการณ์ต่างๆ 2 E1 E0 r IS0 LM0 r1 r0 Y Y0 Y1 Y2 E2 IS1 -G -MS -r คงที่ -Y -เกิด นโยบายการคลังทำงานได้อย่างเต็มที่/สมบูรณ์ (Pure Fiscal Policy) เมื่อใช้นโยบายการคลังร่วมกับนโยบายการเงิน LM1 1 ข้อสังเกต ถ้าใช้นโยบายการเงินก่อนจะอธิบายการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังกับการรักษาเสถียรภาพราคา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จำแนกตามลักษณะของปัญหาเศรษฐกิจ 1) นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) -โดยการเพิ่มการใช้จ่าย ลดภาษี ทำให้งบประมาณขาดดุล AD N Y เศรษฐกิจขยายตัว 2) นโยบายการคลังแบบหดตัว (Restrictive Fiscal Policy) -โดยการลดการใช้จ่าย เพิ่มภาษี ทำให้งบประมาณเกินดุล AD N Y เศรษฐกิจหดตัว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การดำเนินนโยบายการคลังแบบอัตโนมัติ -ต้านวงจรทางธุรกิจ (counter-fiscal policy) เป็นการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติ (automatic change) ไม่เจาะจงการดำเนินนโยบายการคลัง ระบบเศรษฐกิจปรับตัวโดยผ่านกลไกภาษี/งบประมาณ งบขาดดุล รายรับ น้อยกว่า รายจ่าย เศรษฐกิจตกต่ำ เก็บภาษีได้น้อย AD เพิ่ม เศรษฐกิจฟื้นตัว รายรับ มากกว่า รายจ่าย งบเกิน ดุล เศรษฐกิจรุ่งเรือง เก็บภาษีได้มาก AD ลด เศรษฐกิจหดตัว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
-นโยบายการคลังที่มีผลให้ระบบเศรษฐกิจปรับสู่เสถียรภาพเอง โดยอัตโนมัติ โดยรัฐบาลไม่ต้องดำเนินมาตรการทุกครั้งที่เศรษฐกิจขาด เสถียรภาพ เช่น ระบบภาษีอัตราก้าวหน้า -เศรษฐกิจตกต่ำ N U Y > Yd ไม่มาก เอกชนยังคงมีอำนาจซื้อ การผลิตและจ้างงาน ยังคงมีต่อไป (โดยทั่วไป ค่า ER(Revenue Elasticity) จะต้อง มากกว่า 1กล่าวคือ เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น 1% ทำให้เก็บภาษีได้มากกว่า1% -เศรษฐกิจขยายตัว Y > Yd ไม่มาก AD ไม่มาก P ไม่มาก 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
-ข้อสังเกตของนโยบายการคลังโดยอัตโนมัติ (1)ไม่สามารถแก้ปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจทั้ง ระบบ เป็นเพียงช่วยลดความรุนแรงเท่านั้น และขึ้นอยู่กับค่า ER ด้วย (2)อัตราภาษีก้าวหน้าอาจเป็นตัวถ่วงการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจไม่ให้ขยายตัวเร็ว เนื่องจากการเพิ่มอุปสงค์รวมช้าไป (3)กรณีเกิดภาวะเงินฝืดและเศรษฐกิจกำลังฟื้นตัวทำให้ การฟื้นตัวช้า จากที่การใช้จ่ายรวมเพิ่มขึ้นช้า 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังกับการรักษาเสถียรภาพ ระดับรายได้และการจ้างงาน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ดุลการชำระเงินกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงดุลการชำระเงิน ดุลการชำระเงินกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงดุลการชำระเงิน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทบาทรัฐเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 .ได้กำหนดให้การแก้ปัญหาความยากจน และเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยเป็นวัตถุประสงค์หลัก ประการหนึ่งของการพัฒนาประเทศ โดยได้กำหนดแนวทางการ พัฒนากระจายอยู่ในทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
วัตถุประสงค์ ของการแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ (1.1) เพื่อลดความยากจน และลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ระหว่างคนจนและกลุ่มคนต่างๆในสังคม (1.2) เพื่อพัฒนาศักยภาพในการประกอบอาชีพและสร้างโอกาสให้กับคนจนในการเข้าถึงบริการของรัฐ ทั้งการศึกษาและบริการทางสังคมอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกับประชาชนในกลุ่มอื่นๆ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เป้าหมายหลัก ของการแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ เป้าหมายหลัก ของการแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ (2.1) ลดสัดส่วนคนยากจนให้เหลือไม่เกินร้อยละ 12 ของประชากร ในปี 2549 (2.2) กลุ่มคนยากจนสามารถเข้าถึงบริการทางสังคมและบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม (2.3) ลดความเหลื่อมล้ำระหว่างคนจนและกลุ่มคนต่างๆในสังคม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ยุทธศาสตร์ ของการแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ ให้ความสำคัญกับการปรับกระบวนทรรศน์และการจัดการแก้ไขปัญหา ความยากจนอย่างเป็นองค์รวมเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ เน้นที่ตัวคนจน ด้วยการพัฒนาศักยภาพเพิ่มขีดความสามารถให้คนจนก่อร่างสร้างตัว พึ่งตนเองมากขึ้น และพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เป็นปัญหาเชิงระบบและ โครงสร้าง โดยปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐ ปฏิรูปกฎหมาย และ ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างโอกาสให้คนยากจนสามารถเข้าถึง บริการของรัฐได้อย่างทั่วถึง และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง เป็นปัจจัยการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมไม่ขัดต่อกฎระเบียบของรัฐและ ชุมชน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจน ที่สำคัญ ดังนี้ (3.1) เสริมสร้างโอกาสให้คนยากจนสามารถเข้าถึงบริการของรัฐได้ (3.2) สร้างโอกาสให้คนยากจนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ (3.3) พัฒนาโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคมเพื่อสร้างหลักประกันความมั่นคงใน ชีวิตแก่คนยากจน (3.4) พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็งเพื่อสร้างศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถให้คนยากจนสามารถก่อร่างสร้างตัวและพึ่งตนเองได้มากขึ้น (3.5) ปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้เอื้อต่อการสร้างโอกาสให้คนยากจน (3.6) เร่งปฏิรูปกฎหมายและปรับกฎระเบียบ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังกับความยากจน และการกระจายรายได้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการคลังกับการแก้ไขปัญหาการกระจายรายได้ ปัญหาการกระจายรายได้คือภาวะที่คนกลุ่มต่างๆในประเทศมีความแตกต่างทางด้านรายได้ แก้ไขโดย การเพิ่มการใช้จ่ายที่ก่อให้เกิดการจ้างงานและเพิ่มรายได้ให้คนมีรายได้น้อย การเก็บภาษีอัตราก้าวหน้าการยกเว้นภาษีให้คนมีรายได้น้อย การเก็บภาษีทรัพย์สินและมรดกการเก็บภาษีทางตรงมากกว่าภาษีทางอ้อม การให้เงินช่วยเหลือหรือสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ส่งเสริมและรักษาวินัยการคลัง ปรับปรุงโครงสร้างภาษีและการจัดเก็บภาษี เพื่อให้มีความเป็นธรรม โปร่งใส และสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กำหนดกรอบการลงทุนภาครัฐ ทั้งในระยะปานกลางและระยะยาวที่มีความชัดเจนของแหล่งเงิน รูปแบบการลงทุน และการเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนที่เหมาะสม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ปรับปรุงและเร่งรัดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์เรื่องภาษี 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้รัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน ร่วมมือกับภาคเอกชนในการดำเนินมาตรการชะลอการเลิกจ้างและป้องกันการขยายตัวของการเลิกจ้าง ดำเนินมาตรการเร่งด่วนเฉพาะหน้า เพื่อรองรับปัญหาแรงงานว่างงานจากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม่ โดยจัดโครงการฝึกอบรมแรงงานที่ว่างงาน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เร่งรัดดำเนินการช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ถูกเลิกจ้างและผู้ว่างงานอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการดูแลให้ได้รับสิทธิประโยชน์ที่พึงจะได้ตามกฎหมายโดยเร็ว การหางานใหม่ การส่งเสริมอาชีพอิสระ การสร้างงาน และการเพิ่มพูนทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนอาชีพ สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ หรือไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เพิ่มมาตรการด้านการคลัง เพื่อช่วยเพิ่มรายได้ของประชาชนและกระตุ้นธุรกิจในสาขาที่ได้รับผลกระทบ สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานราก โดยการจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียง และจัดสรรเงินเพิ่มเติมให้จากวงเงินที่เคยจัดสรรให้เดิม เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน ลดต้นทุนปัจจัยการผลิตทางการเกษตร 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ดำเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรผ่านกลไกและเครื่องมือของรัฐให้มีประสิทธิภาพ และเร่งสร้างระบบประกันความเสี่ยงทางการเกษตร ทั้งระบบประกันความเสี่ยงราคาพืชผลผ่านกลไกตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและระบบประกันภัยพืชผลอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ เร่งรัดและพัฒนาตลาดและระบบการกระจายสินค้าของสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน เพื่อกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ และการส่งออก 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
จัดตั้งสภาเกษตรกรแห่งชาติ เพื่อให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและวางแผนพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทั่วประเทศให้ปฏิบัติงานเชิงรุก ในการส่งเสริมสุขภาพในท้องถิ่นและชุมชน การดูแลเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาล และการเฝ้าระวังโรคในชุมชน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาล สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานรากโดยการจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียง และจัดสรรเงินเพิ่มเติมให้จากวงเงินที่เคยจัดสรรให้เดิม เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน ลดต้นทุนปัจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเร่งรัดและลดขั้นตอนของภาครัฐเพื่อให้ท้องถิ่นสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้อย่างรวดเร็ว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาล ดำเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรผ่านกลไกและเครื่องมือของรัฐให้มีประสิทธิภาพ และเร่งสร้างระบบประกันความเสี่ยงทางการเกษตร ทั้งระบบประกันความเสี่ยงราคาพืชผลผ่านกลไกตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตรและระบบประกันภัยพืชผลอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เร่งรัดและพัฒนาตลาดและระบบการกระจายสินค้าของสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน เพื่อกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ และการส่งออก จัดตั้งสภาเกษตรกรแห่งชาติ เพื่อให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและวางแผนพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นระบบ และมีระบบการคุ้มครองและรักษาผลประโยชน์ของเกษตรกร รวมทั้งพัฒนาความเข้มแข็งของเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ส่งเสริมอาชีพและขยายโอกาสการทำประมง พัฒนาศักยภาพสินค้าปศุสัตว์ เร่งรัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ทางการเกษตร ส่งเสริมอาชีพและขยายโอกาสการทำประมง พัฒนาศักยภาพสินค้าปศุสัตว์ ดูแลเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรและการตลาดสินค้าเกษตร โดยจัดให้มีระบบประกันความเสี่ยงด้านราคาสินค้าเกษตร พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าให้มีความเข้มแข็ง สร้างตลาดกลางเพื่อการค้าส่งและค้าปลีกสินค้าเกษตรในทุกภูมิภาค ผลักดันให้มีการเปิดตลาดสินค้าเกษตรแห่งใหม่ให้ครอบคลุมทั่วโลก และส่งเสริมระบบเกษตรพันธะสัญญา 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร โดยส่งเสริมการวิจัยและพัฒนามาตรฐานการผลิตและความปลอดภัยด้านสินค้าเกษตรและอาหารตามมาตรฐานสากลในระดับชุมชน และมีการเชื่อมโยงการผลิตทางการเกษตรกับอุตสาหกรรมการเกษตร ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพและมาตรฐานสากล สร้างความมั่นคงด้านอาหาร โดยส่งเสริมการทำการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ขยายกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบือตามแนวพระราชดำริ และสนับสนุนการทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน วนเกษตร 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
เร่งรัดการจัดหาแหล่งน้ำให้ทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรน้ำเพื่อการผลิตทางการเกษตร โดยเน้นการเพิ่มสระน้ำในไร่นาและขุดลอกคูคลองเพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง คุ้มครองและรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการทำเกษตรกรรมที่ได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทานแล้ว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
พัฒนาภาคเกษตรให้มีความเข้มแข็ง โดยสร้างและพัฒนาคุณภาพเกษตรกรรุ่นใหม่ให้มีความสามารถในการบริหารจัดการผลผลิตและการบริหารองค์กรเกษตรกรรูปแบบต่าง ๆ แก้ไขปัญหาหนี้สิน ฟื้นฟูอาชีพและความเป็นอยู่ของเกษตรกร โดยเร่งดำเนินการจัดการหนี้สินของเกษตรกรทั้งในและนอกระบบ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน ให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี กำกับดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการที่มีความจำเป็นต่อการครองชีพ ให้มีราคาที่เป็นธรรม สะท้อนต้นทุนอย่างเหมาะสม และไม่เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค ดำเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชน ในส่วนของการเดินทาง ก๊าซหุงต้ม และบริการด้านสาธารณูปโภค 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นโยบายสวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ แก้ไขปัญหาความยากจน โดยการจัดหาที่ดินทำกินให้แก่ผู้มีรายได้น้อย ส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ ปรับโครงสร้างหนี้ภาคประชาชน เพื่อนำไปสู่การลดหนี้หรือยืดเวลาชำระหนี้ หรือลดอัตราดอกเบี้ย หรือพักชำระดอกเบี้ย เร่งรัดปรับปรุงแก้ไขปัญหาคุณภาพการอยู่อาศัย คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมชุมชน โดยเฉพาะชุมชนผู้มีรายได้น้อยให้ดียิ่งขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเน้นบทบาทของสถาบันทางสังคม ชุมชน และเป็นเครือข่ายในการคุ้มครองทางสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ตัวอย่างแนวคำถาม 1 หากพิจารณาการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติและการใช้นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล นักศึกษาเห็นว่าในสภาพปัจจุบันแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิคหรือสำนักเคนส์ที่สามารถใช้อธิบายสภาพทางเศรษฐกิจและการใช้นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลของประเทศไทยได้ดีกว่ากัน? ให้อธิบายแนวความคิด เหตุผล พร้อมวาดรูปภาพประกอบ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ตัวอย่างแนวคำถาม 2 สมมติให้ในระบบเศรษฐกิจ การลงทุนไม่ความยืดหยุ่นต่ออัตราดอกเบี้ย ในขณะที่ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไรกลับมีความยืดหยุ่นต่ออัตราดอกเบี้ยเป็นอย่างดี และการออมมีการตอบสนองต่อระดับรายได้เป็นอย่างดี ในขณะที่ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอยไม่ค่อยตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าวหากรัฐบาลมีทรัพยากรจำกัด และมีเป้าหมายที่จะใช้นโยบายทางการเงิน หรือนโยบายการคลังเพื่อบรรลุเป้าหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้มากที่สุด นักศึกษาจะเสนอแนะให้รัฐบาลดำเนินนโยบายการเงินหรือนโยบายการคลังจึงจะทำให้การดำเนินนโยบายเกิดประสิทธิภาพสูงสุด อธิบายพร้อมวาดรูปภาพประกอบ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ตัวอย่างแนวคำถาม 3 ให้วิเคราะห์ว่าในระบบเศรษฐกิจปัจจุบันตัวแปรต่อไปนี้มีความยืดหยุ่นต่อตัวแปรที่เกี่ยวข้องอย่างไร -ความยืดหยุ่นของการลงทุนต่ออัตราดอกเบี้ย -ความยืดหยุ่นของความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไรต่ออัตราดอกเบี้ย -ความยืดหยุ่นของการออมต่อระดับรายได้ -ความยืดหยุ่นของความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอยต่อระดับรายได้ ภายใต้สภาวะดังกล่าว เพื่อบรรลุเป้าหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้มากที่สุด และรัฐบาลไม่มีข้อจำกัดเรื่องทรัพยากรทางการเงินและการคลัง นักศึกษาจะเสนอแนะให้รัฐบาลดำเนินนโยบายการเงินและ/หรือนโยบายการคลังจึงจะทำให้การดำเนินนโยบายเกิดประสิทธิภาพสูงสุด? และการใช้นโยบายดังกล่าวสามารถก่อให้เกิด Pure fiscal multiplier ได้หรือไม่? อย่างไร? อธิบายพร้อมวาดรูปภาพประกอบ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ตัวอย่างแนวคำถาม 4 จากข่าวต่อไปนี้ น้ำมัน-ดอกเบี้ยฉุดจีดีพี0.2-0.5% ปีที่ 24 ฉบับที่ 1,904 วันที่ 13-15 พฤษภาคม 2547 ฐานเศรษฐกิจ แหล่งข่าวระดับสูงจากกระทรวงการคลังกล่าวว่าภายหลังที่มีการปรับราคาปลีกน้ำมันภายในประเทศขึ้นไปแล้ว 0.60 บาทต่อลิตร ขณะนี้กระทรวงการคลังได้มีการปรับประมาณการตัวเลขเศรษฐกิจใหม่ (จีดีพี) โดยได้ปรับลดจีดีพีลง 0.2% โดยที่ระดับ 7.4-7.9% จากเดิมที่คาดว่าทั้งปีจีดีพีจะขยายตัว 7.6-8.1% พร้อมทั้งได้ปรับอัตราเงินเฟ้อเพิ่มอีก 0.25% อันเป็นที่คาดว่าการส่งออกจะลดลง และมูลค่านำเข้าเพิ่มสูงขึ้น 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การปรับลดการเติบโตของจีดีพีในครั้งนี้ เป็นผลจากข้อสมมติฐานที่ว่า ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น 1 เหรียญสหรัฐต่อ บาร์เรล จะมีผลให้จีดีพีไทยลดลง 0.2% และผล ต่ออัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น 0.25% อย่างไรก็ตามปัจจุบันราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยปรับสูงขึ้นไปที่ 36 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล แต่มาตรการสนับสนุนเงินอุดหนุนน้ำมันของทางรัฐบาลไทย ได้อุดหนุนที่ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ย 33 เหรียญสหรัฐต่อบาร์ เรล จึงเป็นการปรับตัวสูงขึ้นจากช่วงก่อน ทั้งนี้เนื่องจากภาระของกองทุนน้ำมันภายหลังจากนำเงินเข้าไปอุดหนุนแล้วจะสามารถแบกรับภาระได้เพียง 12,000-13,000 ล้านบาท จึงต้องปรับเพิ่มเพดานราคาน้ำมันขายปลีกเพื่อให้ตอบรับกับต้นทุนการอุดหนุนต่างๆ และสอดคล้องกับภาระของรัฐบาลที่จะเข้าไปแบกรับหลังราคาน้ำมันได้ปรับลดอีกด้วย เพราะหากภายหลังที่ราคาน้ำมันปิดในตลาดโลก ได้มีการปรับตัวต่ำกว่า 33 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล ราคาขายปลีก จะต้องคงระดับราคาที่อุดหนุนที่ 17.59 บาทต่อลิตร ไปอีกระยะหนึ่ง จนกว่าจะได้รับเงินชดเชยเพียงพอกับมูลค่าที่อุดหนุนต่อไป 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แหล่งข่าวกล่าวต่อว่า หากในระยะต่อไป ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกยังปรับตัวสูงขึ้น รัฐบาลคงจะต้องปรับราคาน้ำมันดีเซล เพื่อไม่ให้เป็นภาระกับรัฐบาลมากเกิน โดยในส่วนของกระทรวงพาณิชย์ขณะนี้ได้เข้ามาควบคุมสินค้า 78 รายการเพื่อไม่ให้ราคาสูงเกินความจำเป็นและหากราคาใดกระทบต้นทุนก็จะมีการปรับเพิ่มราคาให้ นอกจากนี้ยังคาดการณ์ว่าธนาคารกลางของสหรัฐ จะมีการปรับดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นในช่วงท้ายของปี ซึ่งจะส่งผลให้ตลาดเงินใน ประเทศมีการปรับดอกเบี้ยขึ้น แต่หากทางรัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาเอ็นพีแอล (หนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้) ได้เร็ว คาดว่าจะเป็นการปรับดอกเบี้ยเฉพาะด้านเงินฝากขึ้นขาเดียว 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ด้านนายสมชัย สัจจพงษ์ โฆษกกระทรวงการคลัง กล่าวว่า ภายในช่วงปลายปีนี้ราคา น้ำมันดิบในตลาดโลกน่าจะมีการปรับตัวลดลง เนื่องจากภาวการณ์ที่เป็นอยู่ เป็นปัญหาบิดเบือนจากผู้ค้าน้ำมันในตลาดโลกที่สร้างขึ้นมาเอง ในขณะที่ประเทศซาอุดีอาระเบียซึ่งอยู่ในกลุ่มโอเปกก็ได้ส่งสัญญาณที่ดี ว่าจะเพิ่มกำลังการผลิต ซึ่งจะส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปรับลดลง เพราะประเทศสำคัญทางเศรษฐกิจของโลก เริ่มมีความกังวลหากปล่อยให้ราคาน้ำมันปรับสูงขึ้นจะส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจโลก ได้ ดังนั้นกระทรวงการคลังจึงยังไม่ต้องปรับประมาณการจีดีพีใหม่ ณ ขณะนี้ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ทางด้านบริษัทหลักทรัพย์ (บล ทางด้านบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ภัทรฯได้วิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อต้นทุนจากการ ปรับขึ้นของราคาน้ำมันและแนวโน้มดอกเบี้ยว่าจะส่งผลต่อจีดีพี 0.5-0.6% ของจีดีพี จากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น และหรือผ่านอัตราเงินเฟ้องานที่ผ่านมาและกำลังจะเกิดขึ้น หลังจากที่ไม่นานนี้รัฐบาลได้ตัดสินใจลดการอุดหนุนค่าน้ำมันในบางส่วน โดยการปรับราคาน้ำมันขายปลีกเบนซิน เพิ่มขึ้น 60 สตางค์ต่อลิตร ยิ่งไปกว่านั้น ราคาค้าปลีกน้ำมันอาจเพิ่มสูงขึ้นแตะ 20 บาทต่อลิตร จาก 16-17 บาทต่อลิตร เนื่องจากส่วนต่างของราคาน้ำมันในประเทศ และต่างประเทศที่ยังคงอยู่ การปรับราคาน้ำมันยังฉุดให้ค่าไฟสูงขึ้น ประมาณ 5% จากราคา ณ ปัจจุบัน จากการประมาณการของบล.ภัทรฯ โดยมีพื้นฐานจากราคาพลังงานเมื่อไม่นานมานี้ สังเกตว่า ค่า FT ในส่วนของค่าไฟ กำลังเพิ่มขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นปี 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
นอกจากนี้บล.ภัทรฯ ยังเชื่อว่าผลกระทบ ของราคาน้ำมันที่ถีบตัวสูงขึ้น ส่งผลต่อกำไรของบริษัทไม่มากนัก เนื่องจากราคาน้ำมันถีบตัวสูงขึ้นเป็นลำดับตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ผลกระทบต่อมาร์จิ้นของบริษัทจึงมีไม่มาก และถูกหักล้างโดยอำนาจการกำหนดราคาที่เพิ่มขึ้นปานกลาง และจากอัตราของการใช้ประโยชน์ที่สูงขึ้น ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิผลการดำเนินงาน เช่นเดียวกับผลกระทบด้านดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มปรับเป็นขาขึ้น ก็ไม่น่าจะมาก สังเกตได้จากตลาดในประเทศไทยไม่อ่อนไหวต่ออัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกับในอดีตที่ผ่านมา ตั้งแต่ประเทศไทยเข้าสู่ภาวะของเศรษฐกิจถดถอยและได้จัดการภาวะความไม่สมดุลภายนอก อาทิ การแก้ไขปัญหาหนี้ต่างประเทศ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
โดยฐานะทางการเงินของบริษัทในตลาดหุ้นกลุ่มอื่นๆ ที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน อัตราส่วนของหนี้สินต่อทุนหรือ D/E รวมไปถึงกลุ่มบริษัทที่อยู่ในภาวะการฟื้นตัวได้ปรับต่ำลดลง โดยรวมได้ไปอยู่ในระดับของหนี้สินต่อทุนที่ 1.6 เท่าในปี 2546 จากเดิมที่เคยสูงถึง 4-5 เท่าในช่วงภาวะวิกฤติ ทั้งนี้ ต้นทุนอัตราดอกเบี้ยต่อยอดขาย ลดลงเหลือ 2.9% ดังนั้น บล.ภัทรฯ จึงเชื่อว่าการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยทีละน้อยไม่ส่งผลกระทบอย่างสำคัญต่อการทำกำไรของตลาดโดยรวม แต่จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มธุรกิจที่แตกต่างกันไป อาทิ ภาคธุรกิจที่มีสัดส่วนหนี้สินต่อทุนมาก ย่อมได้รับผลกระทบจากดอกเบี้ยที่มีการปรับตัวขึ้น โดยเฉพาะหากต้องอิงอัตราดอกเบี้ยลอยตัว หรือกลุ่มธุรกิจที่มีอำนาจในการต่อรองหรืออำนาจในการกำหนดราคาต่ำก็จะได้รับผลกระทบไปด้วย ในขณะที่กลุ่มที่มีอัตราการบริโภคพลังงานและวัตถุดิบสูงจะได้รับผลกระทบมากที่สุด รวมไปถึงผลกระทบต่อกลุ่มธุรกิจที่กำลังฟื้นตัว กลุ่ม 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
กลุ่มโทรคมนาคมที่อยู่ระหว่างการลงทุนหรือที่เพิ่มลงทุน กลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดเล็กหรือรายย่อย และ กลุ่มขนส่งขนาดย่อม ซึ่งผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นจะแปรผันไปตามต้นทุนทางการเงินจากภาระของดอกเบี้ยส่วนของต้นทุนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ทั้งนี้กลุ่มธุรกิจที่กำลังฟื้นตัวจะได้รับผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้นและยังได้รับผลกระทบจากราคาวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น อันจะส่งผลต่อรายได้รวมของกลุ่มนี้ไป 0.80- 1.00% จากปี 2546 http://www.thannews.th.com/ 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
คำถาม 1) ผลกระทบต่อตลาดผลผลิต ตลาดเงิน อุปสงค์มวลรวม และอุปทานมวลรวมในระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างไร? และส่งผลต่อระดับราคา ระดับรายได้ และอัตราดอกเบี้ยให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร? อธิบายกลไกของผลกระทบดังกล่าว พร้อมวาดรูปภาพประกอบ 2) หากรัฐบาลต้องการแก้ไขปัญหาจากผลกระทบดังกล่าว และต้องการให้เศรษฐกิจขยายตัว ควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม(คือไม่ให้สูงขึ้นมากนัก) และอัตราดอกเบี้ยไม่ให้เพิ่มมากนัก นักศึกษาจะเสนอให้รัฐบาลใช้นโยบายการคลังและ/หรือนโยบายการเงิน(พร้อมบอกเครื่องมือทางการคลัง/การเงินที่ใช้ด้วย)อย่างไร? อธิบายกลไกของผลกระทบของการใช้นโยบายดังกล่าว พร้อมวาดรูปภาพประกอบ หมายเหตุ นักศึกษาอาจวิเคราะห์กรณีวาดกราฟ 6 กราฟ วิเคราะห์กรณีภาวะเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน(เศรษฐกิจรุ่งเรือง – เศรษฐกิจถดถอย) 15/11/61 ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี