13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Programs vs Software 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Programs vs Software 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Software (Programs) System Software Application Software 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
310101 Information and Communication Technology 13 July 2002 310101 Information and Communication Technology ตอนที่ 2 : System Software โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ E-mail: wichai@buu.ac.th http://seashore.buu.ac.th/~wichai Email:wichai@buu.ac.th
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) โปรแกรมใช้ควบคุม จัดการ และดูแลฮาร์ดแวร์ ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุด ให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับฮาร์ดแวร์ได้ง่ายและสะดวกสบาย 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) - Operating System (OS) - Language Translator Utility Programs 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบปฏิบัติการ (OS-Operating System) อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สามารถเรียกใช้ซอฟท์แวร์ประยุกต์และข้อมูลจากดิสค์ จัดการแฟ้มข้อมูลในดิสค์ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
OS ที่นิยมใช้ Microsoft Windows Mac OS X Unix Linux 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ Shell Kernel Hardware Utility User OS 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ส่วนแกนกลาง (Kernel) Kernel เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดและใกล้ชิดฮาร์ดแวร์มากที่สุด มีหน้าที่ควบคุมและจัดการกับอุปกรณ์ทางฮาร์ดแวร์ ผู้ใช้ไม่ได้ใช้งานกับส่วนนี้โดยตรง แต่ใช้งานผ่านองค์ประกอบส่วนที่สองที่เรียกว่า shell 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ส่วนที่ใช้ในการติดต่อกับผู้ใช้ (Shell) เป็นส่วนที่คอยรับคำสั่ง และส่งคำสั่งให้ kernel ทำงาน ตามคำสั่งนั้น แบ่งออกเป็นสองชนิด Text Shell Graphic shell 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ด้วยคำสั่ง (Text Shell) ผู้ใช้สั่งงานโดยป้อนคำสั่งที่ต้องการ ยากต่อการใช้งาน ผู้ใช้ต้องจำคำสั่งและรูปแบบคำสั่ง มีความอ่อนตัวสูง สามารถเปลี่ยนทิศทาง input และ output ได้ (Redirection) สามารถนำเอา output ของคำสั่งหนึ่งเป็น input ของอีกคำสั่งหนึ่งได้ (Pipelining) สามารถรวมคำสั่งเขียนเป็น Shell Script ได้ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Text shell ที่นิยมใช้ ระบบ Unix มี Bourne shell, C-shell, และ Korn shell ระบบ Linux มี Bourne Again Shell หรือ bash มี C-shell ที่เรียกว่า tcsh shell ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows มี MS-DOS ทำหน้าที่เป็น Text shell และสามารถเขียน Shell script ได้เรียกว่า Batch File 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง Text Shell ใน Windows คำสั่งที่ผู้ใช้ป้อน ผลลัพธ์ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ด้วยภาพสัญลักษณ์ (Graphic shell) ลักษณะหน้าต่าง (Window) ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน GUI (Graphical user interface : GUI) ใช้ icon นิยมแพร่หลายมากในปัจจุบัน - Microsoft Windows, Linux หรือ Mac OS X ไม่ต้องจำคำสั่งมากมาย ใช้งานได้ง่าย 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Windows XP 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ การควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ การจัดการส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ควบคุมการรับข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ เพิ่มความอิสระในการใช้ฮาร์ดแวร์ที่ต่างกัน จัดการหน่วยความจำ จัดสรรลำดับการทำงาน ให้บริการส่วนการติดต่อสื่อสาร ควบคุมการเข้าถึงของทรัพยากรในระบบ จัดการแฟ้มข้อมูล 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
1. การควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ 13 July 2002 1. การควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ ส่วนของฮาร์ดแวร์ - รับข้อมูลจากอุปกรณ์นำเข้า - อ่านและเขียนข้อมูลลงบนดิสก์ - แสดงผลข้อมูลในอุปกรณ์ส่งออก ในแต่ละส่วนการทำงานพื้นฐาน มีชุดคำสั่งที่ใช้ในการควบคุม ให้ฮาร์ดแวร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
2. การจัดการส่วนติดต่อกับผู้ใช้ 13 July 2002 2. การจัดการส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ควบคุมการรับข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้ผ่าน Shell และนำเอาคำสั่งที่ได้รับจากผู้ใช้มาดำเนินงานบนฮาร์ดแวร์ที่ต่างกัน ผ่านทาง Kernel 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
3. เพิ่มความอิสระในการใช้ฮาร์ดแวร์ที่ต่างกัน 13 July 2002 3. เพิ่มความอิสระในการใช้ฮาร์ดแวร์ที่ต่างกัน มีหน้าที่ในการรองรับความต้องการของโปรแกรมที่จะใช้ฮาร์ดแวร์ต่างชนิดที่กัน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีCPU Intel กับ AMD ทำให้โปรแกรมต่างๆ สามารถทำงานร่วมกัน ภายใต้ฮาร์ดแวร์ที่มีโครงสร้างต่างกันได้ มีฟังก์ชันที่เรียกว่า API (Application Program Interface) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
13 July 2002 4. จัดการหน่วยความจำ OS มีหน้าที่ในการจัดการหน่วยความจำที่มีอยู่ในระบบให้มีความเหมาะสมกับงานที่จะทำ ในกรณีหน่วยความจำของเครื่องมีไม่เพียงพอต่อการทำงาน OS มีกระบวนการเพิ่มหน่วยความจำ โดยการสร้างหน่วยความจำเสมือน (Virtual Memory) ไว้บนดิสก์เพื่อใช้ในการเก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่กำลังทำงานในขณะนั้น 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
13 July 2002 5. จัดสรรลำดับการทำงาน OS สร้างโพรเซส (หรือ task) หลายโพรเซสจากโปรแกรมเดียวกันได้ แต่ละโพรเซสจะมีชุดคำสั่งที่เหมือนกัน เนื่องจากสร้างมาจากโปรแกรมเดียวกัน แต่มีข้อมูลในการดำเนินการต่างกัน จำนวนของโพรเซสที่ OS สร้างขึ้น สามารถตรวจสอบได้ แสดงภาพสัญลักษณ์ไว้ที่ Task Bar อยู่ด้านล่างสุดของจอภาพ ดูได้จากหน้าต่าง Window Task Manager (กดปุ่ม Ctrl-Alt-Del) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
6. ให้บริการส่วนการติดต่อสื่อสาร 13 July 2002 6. ให้บริการส่วนการติดต่อสื่อสาร มีหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์เครือข่าย และควบคุมการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ผ่านโพรโตคอลอันซับซ้อน ให้บริการให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ด้านเครือข่าย 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
7 . ควบคุมการเข้าถึงของทรัพยากรในระบบ 13 July 2002 7 . ควบคุมการเข้าถึงของทรัพยากรในระบบ ในการเข้าถึงทรัพยากรในระบบ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์, ข้อมูล, ซอฟต์แวร์ หรือการเข้าถึงเครือข่าย จะต้องมีการตรวจสอบสิทธิในการใช้ของผู้ใช้แต่ละคนว่ามีสิทธิเพียงใด โดยกระบวนการ (Authentication) แรกที่พบก่อนเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ คือ กระบวนการเข้าสู่ระบบ (Login) ในส่วนนี้จะมีการตรวจสอบชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ระบบจะกำหนดสิทธิในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แก่ผู้ใช้นั้นๆ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
ควบคุมการเข้าถึงของทรัพยากรในระบบ 13 July 2002 ควบคุมการเข้าถึงของทรัพยากรในระบบ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
13 July 2002 8. จัดการแฟ้มข้อมูล OS มีกระบวนการจัดการแฟ้มข้อมูล เช่น คัดลอก การย้ายแฟ้ม การดูรายละเอียดเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล ดูได้จากหน้าต่าง Window Explorer ใน OS ที่เป็นลักษณะมีผู้ใช้หลายคนจะมีเรื่องของสิทธิในการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลด้วย 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
ชนิดของระบบปฏิบัติการ 13 July 2002 ชนิดของระบบปฏิบัติการ แบ่งตามผู้ใช้ ผู้ใช้คนเดียว (Single user) ผู้ใช้หลายคน (Multiuser) แบ่งตามงาน ทำได้หนึ่งงาน (Single task) ทำได้หลายงานพร้อมกัน (Multitasking) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th
Single tasking/Single user MS-DOS 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Multitasking/Single user MS-Windows 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Multitasking/Multiuser Windows NT และ Unix 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
สรุปประเภทระบบปฏิบัติการ Single task Multitasking Single user Multiuser MS-DOS Windows 3.11 Windows 95 Windows 98 Windows 2000, XP Windows NT Mac OS X UNIX Linux 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ในอดีตและปัจจุบัน OS ของบริษัท Microsoft MS-DOS 1.0, 2.0, 3.3, 6.0 Microsoft Windows 3.11, 95, 98, ME, NT, 2000, XP, Vista UNIX และ Linux Mac OS ของบริษัท Apple Computer OS บนเครื่องพกพา 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
MS-DOS Micosoft Disk Operating System 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
MS-DOS 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Microsoft Windows มีขีดความสามารถสูง ใช้งานง่าย ทั้งแบบทำงานส่วนตัวและแบบเครือข่าย ลักษณะเด่น คือ GUI (Graphical User Interface) Multi-tasking Clipboard utility OLE (Object Linking Embedding) มีหลายรุ่นหลายแบบ เช่น Windows 3.11, 95, 98, 2000, CE, XP, และ Windows NT 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
วินโดว์สในอดีต 1985 :Windows 1.0-3.11 1995 : Windows 95 1998 : Windows NT 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
วินโดว์สในปัจจุบัน 2006 : Windows Vista 2001 : Windows XP 2000 : Windows ME 2000 : Windows 2000 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบปฏิบัติการ UNIX ยูนิกซ์ (UNIX) สร้างขึ้นโดยทีมงานจาก (Bell Laboratories) ของบริษัท AT&T เพื่อใช้กับเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์ ภายหลังจึงได้ปรับปรุงให้ใช้ได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เน้นการใช้งานแบบ Multiuser ระบบปฏิบัติการคล้ายๆ กันเช่น Xenix และ Linux 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบปฏิบัติการ Linux เริ่มสร้างโดยลีนุส โทรวัลด์ส (Linus Trovalds) นักศึกษาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ใช้งานได้ฟรี ในปัจจุบันมีลีนุกส์หลายค่าย เช่น Redhat, Slackware, Debian, Linux TLE, Burapha Linux 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบปฏิบัติการ Linux 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Mac OS X เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (Macintosh) ที่ออกโดยบริษัท Apple Computer จะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาแข่งขันกับเครื่อง PC ของ IBM โดยที่ระบบปฏิบัติการที่ผลิตมาเพื่อเครื่องแมคอินทอชนั้นมีชื่อว่า แมคโอเอสเอ็กซ์ (Mac OS X) Mac OS X เริ่มพัฒนาขึ้นจากระบบปฏิบัติการ UNIX 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
Mac OS X 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบปฏิบัติการบนเครื่องพกพา PDA, Pocket PC, Windows CE, Windows Mobile Smart phone - - - Symbian Palm OS PalmPre Apple iPhone 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการ หน่วยความจำรองของระบบ เป็นที่จัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลในรูปของแฟ้มอิเล็กทรอนิกส์ มีการจัดโครงสร้างตามลำดับชั้น จุดเริ่มต้นของระบบแฟ้ม (Root) สารบัญของแฟ้ม (Directory) แฟ้ม (File) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ระบบปฏิบัติการ Windows มีจุดเริ่มต้นที่ Diskdrive A: เป็น Diskette Drive ตัวแรก B: เป็น Diskette Drive ตัวที่สอง C: เป็น Hard Drive ตัวแรก D: เป็น Hard Drive ตัวที่สอง E: เป็น CD หรือ DVD Drive 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการ (ต่อ) สารบัญแฟ้ม (Directory) เก็บรายชื่อของแฟ้มที่อยู่ในระดับต่อไป สร้างขึ้นโดยอัตโนมัติในระหว่างการติดตั้งระบบปฏิบัติการ สร้างขึ้นโดยอัตโนมัติในระหว่างการติดตั้งโปรแกรมประยุกต์ ผู้ใช้สร้างขึ้นเพื่อใช้จัดเก็บแฟ้มข้อมูล ระบบปฏิบัติการ Windows เรียกว่า Folder 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการ (ต่อ) ตัวอย่างโครงสร้างของระบบแฟ้มบน Windows C:\ Windows Install WinXP Edit Plus system.ini Fonts Arial Couier New disk1.cab setup.exe 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โครงสร้างระบบแฟ้มข้อมูล 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
File Type Document Type Text .txt .html Binary .doc .xls .ppt .mdb .odt .ods .odp .odb Multimedia รูปภาพ .bmp .jpg .gif เสียง .wav .wma .mp3 วิดีโอ .wmv .mpeg 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ระบบแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการ (ต่อ) การดำเนินการกับ Directory การสร้าง Directory การเปลี่ยนชื่อ Directory การลบ Directory การแสดงรายชื่อแฟ้มใน Directory การดำเนินการกับแฟ้ม การสร้างแฟ้ม การเปลี่ยนชื่อแฟ้ม การทำสำเนาแฟ้ม การลบแฟ้ม 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) ภาษาเครื่อง (Machine Language) คือภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ ประกอบด้วยลำดับค่าตัวเลขฐานสอง ตัวอย่างเช่น 01 1101 0011 ภาษาชั้นสูง (High-level Language) คือ ภาษาที่มนุษย์เข้าใจ และใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลตามคำสั่งได้ เช่น BASIC, Pascal, C, Java 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมแปลภาษา (Language Translator) โปรแกรมแปลภาษา ทำหน้าที่แปลภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ประเภทของโปรแกรมแปลภาษา คอมไพเลอร์ (Compiler) – FORTRAN, Pascal, C, Java อินเทอร์พรีทเตอร์ (Interpreter) - BASIC, HTML ตัวแปลภาษา (Complier) Source code Machine Language 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) โปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ประเภทการจัดไฟล์ (File Manager) ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstall) โปรแกรมจัดการดิสก์ (Disk Utility) โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen Saver) โปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus) โปรแกรมไฟร์วอล (Firewall) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (Compressor) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
File Manager Windows Explorer … New, Cut, Copy, Delete, Rename, Find 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
ประเภทการลบทิ้งโปรแกรม (Uninstall) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมจัดการดิสก์ (Disk Utility) Disk Cleanup …. กำจัดแฟ้มข้อมูลที่ไม่ต้องการจากเครื่อง Disk Defragmenter จัดระเบียบแฟ้มข้อมูลในฮาร์ดดิสค์ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen Saver) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมโปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti-virus) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมไฟล์วอลล์ (Firewall) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
โปรแกรมโปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th
สวัสดี 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002