หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์
เอกสารประกอบการบรรยาย http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/1201104/Doc_03.htm
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์(Computer Programming Language) ชุดคำสั่ง มีโครงสร้าง เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้
ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)
ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง (High-level Language)
ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language)
ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
ข้อพิจารณาในการเลือกภาษา ความเชี่ยวชาญของบุคลากร ทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ความนิยมของภาษา ความเหมาะสมและความเข้ากันได้กับฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์
ตัวอย่างของภาษา ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmula TRANslator) คำสั่งรับส่งข้อมูล (input-output statement)ได้แก่ READ, WRITE หรือ PRINT, FORMAT คำสั่งคำนวณ (arithmetic statement) ได้แก่ - คำสั่งที่เป็นการคำนวณ โดยทางซ้ายมือเป็นตัวแปร ทางขวามือเป็นการคำนวณ เช่น X = A + B + 5 - คำสั่งตรรกะ (logical statement) เป็นคำสั่งประเภทควบคุม ได้แก่ คำสั่งที่ใช้ในการทดสอบ ค่าเช่น IF (A.EQ.B) GO TO 15 หรือ GO TO (1, 2, 3,4, 5) และ I เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีคำสั่งประกอบอื่นๆ อีก เช่น DIMENSION, DATA, CALL SUB, และ RETURN เป็นต้น
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmula TRANslator) READ X IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X ELSE PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’
ภาษาโคบอล (COBOL) IF SALES-AMOUNT IS GREATER THAN SALES-QUOTA COMPUTE COMMISSION = MAX-RATE * SALES - AMOUNT ELSE COMPUTE COMMISSION = MIN-RATE * SALES - AMOUNT
ภาษาเบสิก (BASIC) CLS PRINT “PLEASE ENTER A NUMBER” INPUT NUMBER DO WHILE NUMBER <> 999 SUM = SUM + NUMBER COUNTER = COUNTER + 1 PRINT “PLEASE ENTER THE NEXT NUMBER” LOOP AVERAGE = SUM/COUNTER PRINT “THE AVERAGE OF THE NUMBER IS”; AVERAGE END
ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Language Translator)
แอสเซมเบลอร์ (Assembler)
อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
คอมไพเลอร์ (Compiler)