ตัวชี้วัดระดับสำนักทันตสาธารณสุขกับกรมอนามัย: KPI 7 ร้อยละกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพช่องปากและโภชนาการ ตัวชี้วัดระดับสำนักทันตสาธารณสุขกับกรมอนามัย: KPI 7 28 ตุลาคม 2559 ดร.เพ็ญแข ลาภยิ่ง ประเด็นยุทธศาสตร์: Service excellence เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์: ประชาชนได้รับบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ข้อเท็จจริง โรคในช่องปากที่สำคัญในกลุ่มเด็กคือ ฟันผุ 1 และผุได้ในทุกช่วงวัยของชีวิต สุขภาพช่องปากสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนทุกกลุ่มวัย2-7 จำนวนซี่ฟันแท้ในกลุ่มผู้สูงอายุมีผลต่อคุณภาพชีวิตและความยืนยาวของชีวิต 8 จำนวนซี่ฟันแท้ HALE 72 yrs. 1. สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 1-7 2. Khader YS, Albashaireh ZS, Alomari MA. Periodontal diseases and the risk of coronary heart and cerebrovascular diseases: a meta-analysis. J Periodontol 2004 Aug; 75(8): 1046-1053. 3. Grabe HJ, Schwahn C, Völzke H, Spitzer C, Freyberger HJ, John U, Mundt T, Biffar R, Kocher T. Tooth loss and cognitive impairment. J Clin Periodontol 2009; 36: 550-557. 4. Dietrich T, Sharma P, Walter C, Weston P, Beck J. The epidemiological evidence behind the association between periodontitis and incident atherosclerotic cardiovascular disease. J Periodontol 2013 Apr; 84 (4 Suppl): S70-84. 5. Stewart R, Sabbah W, Tsakos G, D'Aiuto F, Watt RG. Oral health and cognitive function in the Third National Health and Nutrition Examination Survey (NHANES III). Psychosom Med 2008; 70: 936-941. 6. Feitosa S, Colares V, Pinkham J. The psychosocial effects of severe caries in 4-year-old children in Recife, Pernambuco,Brazil. Cad. Saúde Pública, Rio de Janeiro. 2005, 21(5):1550-6. 7. Low FW, Tan S, Schwartz S. The effect of severe caries on the quality of life in young children. Pediatr Dent 1999; 21:325-6. 8. Ando Y. Mastication and nutrition ingestion, dental health care to lengthen the healthy life-span (edited by Japan Dental Research Institute). Tokyo: Ishiyaku Publishers, Inc.; 2009. 104-111.
รัก ษา แบบ เก็บ ฟัน แนวคิดทันตสาธารณสุข ดูแลฟันตั้งแต่ซี่แรก ฟันไม่ผุ surveillance, prevention, early detect --> 20 prevention ดูแลฟันตั้งแต่ซี่แรก รัก ษา แบบ เก็บ ฟัน ฟันไม่ผุ ฟันผุ ฟันไม่ เคยผุ ฟันไม่ผุ ฟันผุ ฟันไม่ ผุแล้ว ฟันไม่ผุ ฟันผุ ฟันไม่ผุ ฟันไม่ผุ ฟันผุ
กลไก: Primary Care Cluster แนวทางการดำเนินงาน PCC กลไก: Primary Care Cluster ฟันไม่เคยผุ ฟันไม่ผุ สูงดีสมส่วน ก ร ะ บ ว น ก า ร แผน/ เป้าหมายระดับ CUP / PCC จว. การจัดทรัพยากร ระบบสนับสนุน ติดตามกำกับ ANC, WCC, คลินิกนมแม่ การจัดบริการสุขภาพช่องปาก เยี่ยมบ้าน กิจกรรมใน ศพด./ชุมชน
รายงานสรุปผล/ข้อ เสนอแนะ ตัวชี้วัดที่ 7: ร้อยละกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัย สตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพช่องปากและโภชนาการ เกณฑ์การประเมิน 5 เดือนแรก (ต.ค.59-ก.พ.60) 5 เดือนหลัง (มี.ค.-ก.ค.60) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ศอ. สสจ.รับทราบ มีแนวทางดำเนินงาน จว. 25% มี แผน/เป้าหมาย PCC 10 % จัดบริการ PCC 20 % จัดบริการ PCC 30 % จัดบริการ PCC 40 % จัดบริการ PCC 50 % จัดบริการ รายงานสรุปผล/ข้อ เสนอแนะ Dr.Phenkhae Lapying
small success: ส่วนกลาง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีคณะทำงานร่วมและประสานงาน ตชว. ในส่วนกลาง พัฒนาศักยภาพบุคลากรส่วนกลาง/ภาคีเครือข่าย ประชุมส่วนกลาง -ศอ.-สสจ.–รพ. สร้างระบบสื่อสารสังคมออนไลน์ 5. มีระบบติดตามกำกับระดับเขต จว.และสื่อสารออนไลน์ 6. รายงาน คกก. SP กสธ. ระบบสนับสนุนวิชาการ/เทคนิคในการดำเนินงาน/ME จัดทำหลักสูตร/อบรม การวิจัยประเมินผล/เขียนบทความ ประเมินสรุปจาก 43 แฟ้ม + นิเทศ 4.รายงาน คกก. SP กสธ. ระบบสนับ-สนุนวิชาการและเทคนิคฯ ทบทวนการดำเนินงาน ประเมินสรุปจาก 43 แฟ้ม รายงาน คกก. SP กสธ. นิเทศ/สรุป วิเคราะห์สรุปจากระบบ 43 แฟ้ม + สำรวจรายปี + นิเทศ รายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและนโยบาย จัดประชุมวิชาการ Dr.Phenkhae Lapying
small success: เขต/ จังหวัด 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คกก. จัดทำแผนงานบูรณาการในแผน จว. จัดระบบสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และบุคลากร ร้อยละ 50 ของจังหวัดจังหวัดมีแผน/เป้าหมายดำเนินการ มีการติดตามระดับเขต จังหวัด และสื่อสารกับส่วนกลาง มีการติดตามระดับเขต จว. และสื่อสารกับส่วนกลาง มีการติดตามระดับศอ. จว. รพ.แม่ข่าย ประเมินผลจาก 43 แฟ้ม สรุปผลการดำเนินงาน Dr.Phenkhae Lapying
small success: เครือข่ายบริการ/ PCC รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน บูรณาการแผนงานและเป้าหมายในแผนระดับ CUP และ PCC PCC จัดบริการฯ มีการติดตามระดับCUP PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 10 ของ PCCทั้งหมด มีการติดตามระดับ CUP PCC จัดบริการ ร้อยละ 40 ของ PCC ทั้งหมด PCC จัดบริการ ร้อยละ 50 ของ PCC ทั้งหมด Dr.Phenkhae Lapying
จังหวัดรายงานการดำเนินงาน PCC การสนับสนุนของโรงพยาบาลแม่ข่าย ปัญหาและอุปสรรค downloadเอกสารhttp://dental2.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=1151&filename=monitoring Dr.Phenkhae Lapying