โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 9 กรกฎาคม 2557 โรงแรมภูริมาศ บริช โฮเต็ลแอนด์สปา อำเภอเมือง จังหวัดระยอง
ความเป็นมา ปี 2549 ทดลองรูปแบบการทำงานในเรือนจำภูเก็ต และทัณฑสถานวัยหนุ่มกลางปทุมธานี ปี 2550-2551 ขยายModel ใน 5 เรือนจำ คือ ทัณฑสถานวัยหนุ่มปทุมธานี เรือนจำกลางเชียงราย เรือนจำกลางอุดรธานี เรือนจำกลางขอนแก่น และทัณฑสถานบำบัดพิเศษขอนแก่น ปี 2552 ขยาย Model ใน 32 เรือนจำ สนับสนุนงบประมาณโดยกองทุนโลก
โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านเอชไอวีเอดส์สำหรับผู้ต้องขัง เริ่มโครงการ PR5 ขยายไป 3 จังหวัด (CR, UD, KK MOU DDC=DOC ทดลองรูปแบบ เรือนจำภูเก็ต กรมราชทัณฑ์ ได้รับทุนจาก GF เพื่อดำเนินกิจกรรม แกนนำใน 32 รจ. ทดลองรูปแบบ ทสว. ปทุมธานี เก็บข้อมูลพื้นฐาน เรือนจำภูเก็ต เริ่มโครงการ PR5 ขยายไป 3 จังหวัด (CR, UD, KK) จัดบริการเชิงรุก ปรับปรุงระเบียบอนามัย เรือนจำ 2551 2552 2548 2549 2550 2554 2556 2557
ผลจากการดำเนินโครงการ ปี 2554 กรมควบคุมโรคและกรมราชทัณฑ์ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเรือนจำ” ปี 2554 มีการจัดทำ “ แนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในเรือนจำ” เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และราชทัณฑ์ ใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานด้านสุขภาพผู้ต้องขัง ปี 2556 สบรส. ตั้งคณะทำงาน ปรับปรุงระเบียบอนามัยเรือนจำ ปี 2557 สบรส. ตั้งคณะทำงาน เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ต้องขังในเรือนจำ
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการ เชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ
วัตถุประสงค์ของโครงการฯ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ของโครงการฯ
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการเชิงรุก ส่งเสริมการค้นหาและรักษา HIV/AIDs TB และ STIs เพื่อติดตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพผู้ต้องขัง ในประเด็น การรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ ของแนวปฏิบัติฯที่กรมควบคุมโรคและกรมราชทัณฑ์ ร่วมกันจัดทำขึ้น เพื่อส่งเสริมการใช้แนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเรือนจำ เป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพผู้ต้องขัง
กรอบแนวคิดการทำงาน เอดส์รู้เร็ว การตรวจหาการติดเชื้อเพื่อรู้สถานะแต่เนิ่นๆ การตรวจซ้ำเป็นประจำสำหรับผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง รักษาไว เริ่มการดูแลรักษาแต่เนิ่นๆเพื่อลดโอกาสการถ่ายทอดเชื้อแก่ผู้อื่นและชุมชน กินยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องเพื่อกดปริมาณไวรัสในร่างกาย ป้องกันได้ ป้องกันผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อ ไม่ให้ติดเชื้อ ป้องกันผู้ที่ติดเชื้อแล้ว ลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อสู่ผู้อื่น Condom ARV สภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี และการใช้ข้อมูลเพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงผู้ทราบสถานะการติดเชื้อสู่ระบบการป้องกันและดูแลรักษาที่เหมาะสม
ความร่วมมือในการดำเนินงาน สำนักโรคเอดส์ ฯ สำนักวัณโรค สสจ. ร.พ. เรือนจำ ๓ แห่ง ร่วมจัดบริการเชิงรุก ให้บริการดูแลรักษา เชื่อมต่อระบบให้การดูแลรักษา จัดบริการเชิงรุก เพื่อค้นหา AIDS STIS และ TB ให้บริการรักษา STIs เชื่อมต่อระบบดูและรักษา
รายละเอียดวิธีการดำเนินงานโครงการฯ
วิธีดำเนินการ พัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกในเรือนจำ นำร่องจัดกิจกรรมบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาการติดเชื้อ HIV/AIDs TB และ STIs และให้การดูแลรักษาในเรือนจำ 3 แห่งในจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ 1. ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง 2. ทัณฑสถานบำบัดพิเศษชาย ปทุมธานี 3. เรือนจำจังหวัดปทุมธานี กลุ่มเป้าหมาย ผู้ต้องขังจำนวน 900 คน
การบริการที่ให้ ตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัคร ด้วยวิธี SDR (900 คน) ตรวจเลือดเพื่อคัดกรองซิฟิลิส ด้วยวิธี Rapid test for syphilis (900 คน) ตรวจร่างกาย ช่องปาก/ช่องคอ ตรวจอวัยวะเพศ ทวารหนัก หญิง (450 คน) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคลอดเพื่อดูสดหาเชื้อพยาธิช่องคลอด (wet smear) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และหนองจากฝี เพื่อนำไปเพาะเชื้อ หนองใน (culture GC) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และหนองจากฝี เพื่อย้อมสีแกรม ตรวจหาเชื้อหนองใน หนองเทียม เชื้อรา (gram stain) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ และหนองจากฝี เพื่อตรวจหาเชื้อ Chlamydia (ELISA for CT)
วิธีการดำเนินงาน (ต่อ) การบริการที่ให้ (ต่อ) ชาย (450-900 คน) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคอ ท่อปัสสาวะ ทวารหนัก และหนองจากฝี เพื่อนำไปเพาะเชื้อหนองใน (culture GC) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคอ ท่อปัสสาวะ ทวารหนัก และหนองจากฝี เพื่อย้อมสีแกรม ตรวจหาเชื้อหนองใน หนองเทียม เชื้อรา (gram stain) เก็บสารคัดหลั่งจาก ช่องคอ ท่อปัสสาวะ ทวารหนัก และหนองจากฝี เพื่อตรวจหาเชื้อ Chlamydia (ELISA for CT) ให้การรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การนัดตรวจซ้ำให้นัดตรวจใน รพ.พื้นที่
ผลการจัดบริการเชิงรุก ค้นหา AIDS และ Syphilis สถานที่ จำนวนตรวจ พบAIDS พบ Syphilis ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลางปทุมธานี 273 5 6 ทัณฑสถานบำบัดพิเศษจังหวัดปทุมธานี 287 8 11 เรือนจำจังหวัดปทุมธานี 104 4 2 รวม 664 17 19
ผลการจัดบริการเชิงรุก ค้นหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผลการจัดบริการเชิงรุก ค้นหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สถานที่ STIs ตรวจ(ราย) พบ (ราย) ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง 170 18 ทัณฑสถานบำบัดพิเศษ ปทุมธานี 115 16 เรือนจำจังหวัดปทุมธานี 49 14 รวม 334 48
ผลการจัดบริการเชิงรุก ค้นหา TB สถานที่ จำนวน x-ray พบ เสมหะพบเชื้อ ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลางปทุมธานี 550 354 5 ทัณฑสถานบำบัดพิเศษจังหวัดปทุมธานี 350 11 ยืนยันผลเสมหะ เรือนจำจังหวัดปทุมธานี 148 42 รวม 1048 407
การติดตามการใช้แนวปฏิบัติ การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในเรือนจำ กรมควบคุมโรคและกรมราชทัณฑ์ ร่วมกันจัดทำแนวปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ในเรือนจำ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านสุขภาพแก่ผู้ต้องขัง ให้กับเรือนจำทั่วประเทศ 141 แห่ง ผลจากการจัดเวที ติดตามการใช้แนวปฏิบัติ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในเรือนจำ 10 แห่ง พบว่า มีเพียง 2 ใน 10 แห่ง ได้รับแนวปฏิบัติ ฯ และใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินงานด้านสุขภาพ
การติดตามปัญหา ระบบการป้องกัน รักษาและส่งต่อผู้ต้องขัง การติดตามปัญหา ระบบการป้องกัน รักษาและส่งต่อผู้ต้องขัง
ข้อเสนอแนะ (ฝั่งสาธารณสุข) อยากให้เรือนจำเป็นส่วนหนึ่งของ SRRT เสนอ ให้ส่วนกลางจัดอบรมเจ้าหน้าที่เรือนจำเรื่องโรคและภัยสุขภาพต่างๆ อยากให้มีระบบ update สิทธิ UC ที่เป็นอัติโนมัติ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ไม่ทราบข้อมูลการป่วยในเรือนจำ ปัญหาผู้ต้องขังไม่มีเลข 13 หลัก ประมาณ 70,000 คน เป็นภาระต่อสถานบริการ ผู้ต้องขังต่างด้าวไม่มีสิทธิ์การรักษา ผู้ต้องขังที่รับยาต้าน ส่วนใหญ่ไม่ได้พบแพทย์ ผู้ต้องขังกินยาต้าน หรือยา TB กินยาไม่ครบ เนื่องจาก ผู้ต้องขังนำยาบางตัวไปขายต่อผู้ต้องขังอื่น
ข้อเสนอแนะ (ฝั่งราชทัณฑ์) กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ขอให้แจ้งทั้งฝั่งราชทัณฑ์และสาธารณสุขไปพร้อมๆกัน เพื่อสาธารณสุขจะได้เตรียมการ การจัดการระบบสุขภาพในเรือนจำ ต้องมีการจัดการพิเศษ อยากให้มีระบบ update สิทธิ UC ที่เป็นอัตโนมัติ เสนอเรื่องห้องควบคุมพิเศษ หรือการจัดรวมผู้ต้องขังป่วยหลายคนให้อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน ให้กระจายกันน้อยที่สุด เพื่อลดจำนวนผู้คุม เรือนจำเสนอ อยากให้ มีTelemedicine ให้การดูแลผู้ต้องขังที่ป่วยลดการนำ ผู้ต้องขังออกจากเรือนจำ
ความท้าทาย แนวปฏิบัติฯ : ส่วนใหญ่ไม่เคยเห็น บางแห่งเห็น ได้รับแล้ว แต่ยังไม่ได้ใช้ แนวปฏิบัติที่กรมควบคุมโรคและกรมราชทัณฑ์ ทำอย่างไรให้ใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง
Thank you for your attention