การจัดทำงบประมาณ/โครงการ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
ภาพรวมยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 1. ยุทธศาสตร์ / นโยบายระดับประเทศ (National Level) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 2. ยุทธศาสตร์ / แผนงานตามประเด็นสำคัญ (Agenda Level) เกษตร อุตสาหกรรม / EEC ท่องเที่ยว การค้า / เขตเศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาเมือง และโครงสร้างพื้นฐาน 3. ยุทธศาสตระดับพื้นที่ (Area) ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด โครงการ / แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี สู่ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ความมั่นคง 1 2 การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 5 การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ปี พ.ศ. 2560 – 2564 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แนวทางการพัฒนาภาค เมือง และเศรษฐกิจของประเทศ ปัญหาช่องว่างการกระจายรายได้ระหว่างภาค การดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เร่งดำเนินการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ป้องกัน และพัฒนา จะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาภาคอย่างมีนัยสำคัญ การกระจุกตัวของการพัฒนา การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในทุกภาค ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนส่ง การก้าวสู่ความเป็นเมืองอย่างรวดเร็วทุกภาค การเตรียมความพร้อมรองรับความเป็นเมือง กลไกการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ยังไม่เกิดการบูรณาการในการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การรวมกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค อนุภูมิภาค และ AEC เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนมีความสำคัญมากขึ้น สถานการณ์และบริบทการเปลี่ยนแปลง แนวทางการพัฒนาภาค ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 1 2 ภาคเหนือ ฐานเศรษฐกิจมูลค่าสูง หลุดพ้นความยากจน สู่เป้าหมายการพึ่งตนเอง 3 ภาค กลาง ภาคใต้ ฐานเศรษฐกิจชั้นนำ 4 ฐานเศรษฐกิจสีเขียวได้มาตรฐานสากล เพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กระจายตัวอย่างทั่วถึง ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
บทบาทและแนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฐานการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง มาตรฐานปลอดภัยและอินทรีย์ ศูนย์กลางอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเอทานอลของประเทศ แหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ อารยธรรมขอม วัฒนธรรมประเพณี แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงกีฬาระดับนานาชาติ อีสานพึ่งตนเอง 1. เพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตร พัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแหล่งผลิต ข้าวหอมมะลิคุณภาพสูง 2. พัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูป พัฒนาให้นครราชสีมาเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและ อาหารแบบครบวงจร 3. ยกระดับการท่องเที่ยว พัฒนาการท่องเที่ยววัฒนธรรมลุ่มน้ำโขงและสุขภาพในกลุ่มจังหวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนและท่องเที่ยวอารยธรรมขอมในกลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำใหม่ในพื้นที่ลุ่มน้ำเลย ชี มูล และสร้างแหล่งกักเก็บ (แก้มลิง) อ่างเก็บน้ำ ฝาย และแหล่งน้ำขนาดเล็กในพื้นที่ที่เหมาะสมใน พื้นที่การเกษตร 5. ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ต้นน้ำ กำหนดและทำเครื่องหมายแนวเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์และพื้นที่ป่านอกเขต อนุรักษ์ให้ชัดเจน และส่งเสริมป่าชุมชน ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (2560-2579) โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่1: ปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา เป้าหมาย : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย / เพิ่มการใช้งานด้านดิจิทัลในการบริหารจัดการการผลิตในกลุ่ม SMEs / เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการฐานนวัตกรรม (Innovation Driven Enterprise: IDE) / ลดปริมาณของเสียและการปล่อยก๊าซ / เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของคลัสเตอร์ ยุทธศาสตร์ที่ 2: ปฏิรูปนิเวศอุตสาหกรรมรองรับอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา เป้าหมาย : ปฏิรูปองค์กรภาครัฐ รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพิ่มมูลค่าการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ เพิ่มการลงทุน R&D เพิ่มจำนวนนักวิจัย เพิ่มจำนวนสิทธิบัตรจดทะเบียนต่อประชากร และเพิ่มจำนวนแรงงาน คุณภาพเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 3: เชื่อมโยงอุตสาหกรรมไทยกับเศรษฐกิจโลก เป้าหมาย ปรับรูปแบบการผลิตของภาคการผลิตให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกและปรับเปลี่ยนสู่ห่วงโซ่ที่มีมูลค่าสูง พัฒนารูปแบบและเพิ่มการใช้ดิจิทัลเพื่อการจัดหา วัตถุดิบและการท าตลาดระดับโลก เพิ่มการลงทุนของผู้ประกอบการไทยและเพิ่มการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพิ่มการขยายตัวของอุตสาหกรรม กลุ่มเป้าหมายไปยังตลาดต่างประเทศ กลยุทธ์ที่ 1: ปฏิรูปองค์กรภาครัฐให้ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ที่ 2: พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม กลยุทธ์ที่ 3: พัฒนาทักษะ องค์ความรู้ของบุคลากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ที่ 1: ส่งเสริมอุตสาหกรรมไทยเชื่อมโยงห่วงโซ่การผลิตของโลก กลยุทธ์ที่ 2: เชื่อมโยงการผลิตและการตลาดสู่สากลด้วยดิจิทัล กลยุทธ์ที่ 3: ส่งเสริมการลงทุนขยายฐานการผลิตในและนอกประเทศ กลยุทธ์ที่ 1: ยกระดับผลิตภาพ มาตรฐาน และนวัตกรรม กลยุทธ์ที่ 2: เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากและสังคมผู้ประกอบการ กลยุทธ์ที่ 3: ส่งเสริมการรวมกลุ่มคลัสเตอร์อุตสาหกรรม ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์Robotics อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (2560-2579) โดยกระทรวงอุตสาหกรรม 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย กรอบแนวคิดหลัก เสริมสร้างและต่อยอดอุตสาหกรรมหลัก (ส่วนที่ 1 ) และวางแผนเพื่อรองรับอุตสาหกรรมและกิจกรรมการผลิตที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (ส่วนที่ 2) โดยเชื่อมโยงเกาะเกี่ยวกันเป็น Value Chain อุตสาหกรรมหุ่นยนต์Robotics อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ Biofuel &Biochemical อุตสาหกรรมดิจิทัล อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุมรายไดดีและทองเที่ยวเชิงสุขภาพ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ การเกษตและเทคโนโลยี ชีวภาพ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร กระตุ้นการลงทุนจากต่างประเทศ ก่อให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน รองรับอุตสาหกรรมในอนาคต ตอบสนองความต้องการของตลาดต่างประเทศ สร้างเครือความรู้ กระตุ้นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและแรงงาน พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตด้วยเทคโยโลยีทั้งแก่อุตสาหกรรมพื้นฐานและอุตสาหกรรมเฉพาะทาง สร้างรากฐานที่มั่นคง โดยพัฒนาอุตสาหกรรมเดิมสู่การเป็น Value Added Industrial ที่มา: กระทรวงอุตสาหกรรม