Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว Powerpoint Templates
Goal:เป้าหมาย ทีมหมอครอบครัว - มีทีมหมอครอบครัว ดูแล ช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา ประดุจญาติมิตร ทุกครอบครัว - มีการดูแลร่วมกันถึงบ้านและหน่วยบริการอย่างใกล้ชิดและทั่วถึง - ได้รับการดูแลครอบคลุมทุกมิติ รักษา ส่งเสริม ป้องกัน องค์รวม ต่อเนื่อง ผสมผสาน - มีการรับ-ส่งต่อทุกระดับ ตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน รพ.สต.และ รพ.อย่างใกล้ชิดเหมาะสม - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลครอบคลุมครบถ้วน - ครอบครัว ชุมชน มีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น -ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นหมอครอบครัว
ใครคือทีมหมอครอบครัว ? ทีมหมอครอบครัวเป็น ทีมงานใหญ่ มีบุคลากรวิชาชีพทำงานร่วมกันทั้งระดับโรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) และภาคประชาชนในระดับหมู่บ้าน ใครคือทีมหมอครอบครัว ? อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
คำนิยาม หมอครอบครัว : บุคลากรสาธารณสุขที่สำเร็จการศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรขึ้นไปที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ที่รับผิดชอบของรพ.สต./ศสม.โดยรับผิดชอบประชากรประมาณ 1,250 -2,500 คน/หมอประจำครอบครัว แพทย์ที่ปรึกษา : แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว/ แพทย์เฉพาะทางที่มีความสนใจในงานบริการระดับปฐมภูมิ
ทีมหมอครอบครัวคือใคร ทีมหมอครอบครัว : คือ ทีมสหวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมถึง อสม. อปท. ชุมชน ภาคประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพของประชาชน
ทีมหมอครอบครัว ทำหน้าที่ : มีหน้าที่รับผิดชอบสุขภาพแต่ละครอบครัวตามพื้นที่รับผิดชอบ ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำ ให้การบริการ ที่จำเป็น ดูแลปัญหา กาย จิต สังคม แก่ครอบครัว ชุมชน อย่างต่อเนื่อง เป็นองค์รวมและมีส่วนร่วมกับทุกภาคีสุขภาพ รวมทั้ง การประสานการส่งต่อไปยังหน่วย บริการทุกระดับอย่างใกล้ชิดและเหมาะสมกับผู้ป่วย
องค์ประกอบทีมหมอครอบครัว ระดับอำเภอ ประกอบด้วย แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพ เช่นแพทย์เวชศาสตร์/ แพทย์เฉพาะทาง / แพทย์ทั่วไป/ทันตแพทย์/เภสัชกร/พยาบาลเวชปฎิบัติ /พยาบาลวิชาชีพ/กายภาพบำบัด /นักสังคมสงเคราะห์ / นักสุขภาพจิต ในรพ. และทีมจาก สสอ. หน้าที่ เป็น ที่ปรึกษา พี่เลี้ยง สนับสนุนบริหารจัดการ พัฒนาศักยภาพ แก่ทีมตำบล ชุมชน
องค์ประกอบทีมหมอครอบครัว ระดับตำบล ประกอบด้วย บุคลากรใน รพ.สต. เช่นพยาบาลเวชปฏิบัติ นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข ทันตาภิบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอื่นๆ หน้าที่ เป็นหมอครอบครัว ดูแลปัญหาสุขภารักษาพยาบาลเบื้องต้น ประสานส่งต่อเมื่อเกินความสามารถ มุ่งเน้นส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคเสริมพลังการพึ่งพาตนเอง เชื่อมประสานองค์กรท้องถิ่น ภาครัฐอื่นๆ ขจัดทุกข์ เพิ่มสุข ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้กับครอบครัวและชุมชน เป็นพี่เลี้ยงทีมชุมชน
องค์ประกอบทีมหมอครอบครัว ระดับชุมชน ประกอบด้วย ภาคประชาชนในพื้นที่นั้น เช่น อสม. อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จิตอาสา นักบริบาล แกนนำครอบครัว และ ประชาคม หน้าที่ ช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองหรือ ให้การบริบาลเบื้องต้น ทำหน้าที่ประดุจญาติของผู้ป่วยและครอบครัว ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และสาธารณสุข เมื่อต้องไปรักษาต่อที่รพสต.หรือรพช. ช่วยเหลือดูแลขจัดทุกข์ ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของครอบครัว ชุมชน
แนวทางดำเนินการ พื้นที่เขตชนบท(รพสต.) : บุคลากรสาธารณสุขในรพสต.แบ่งพื้นที่ ที่รับผิดชอบโดยรับผิดชอบ ประชากรประมาณ 1,250 -2,500 คน/หมอประจำครอบครัว โดยเพิ่มการมีแพทย์ที่ปรึกษาจาก รพช.ทุกรพสต.เพื่อให้คำปรึกษาและรับส่งต่อและมีทีมหมอประจำครอบครัว ซึ่งเป็นทีมสห วิชาชีพจากรพ.รวมทั้งมีทีมสุขภาพในชุมชน เช่น อสม,จิตอาสา,นักบริบาล,อปท,กำนัน, ผู้ใหญ่บ้านและประชาชน คอยช่วยเหลือในการดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ พื้นที่เขตเมือง(ศสม.) : ทุกชุมชนในเขตเทศบาลมีทีมหมอประจำครอบครัวทุกชุมชนโดยมีแพทย์ ผู้รับผิดชอบศสม.เป็นแพทย์ที่ปรึกษา(แพทย์ 1คนต่อ1 ศสม.) พื้นที่เขตอำเภอเมืองนอกเขตเทศบาล: ดำเนินการเหมือนพื้นที่รพสต.โดยที่รพศ./รพท. มอบหมายให้มีแพทย์ที่ปรึกษาๆละ3-5รพสต.หรือจัดหาแพทย์ให้ปฏิบัติงานในเครือข่าย รพสต.ที่รวมกลุ่มในขนาดที่เหมาะสม
ผังโครงสร้างทีมหมอประจำครอบครัว ทีมอำเภอ ทีมสหสาขาวิชาชีพจาก รพช. เช่น แพทย์/ทันตแพทย์/เภสัช/พยาบาลเวช/นักจิต/นักกาย/นักโภชนาการ และทีมจาก สสอ. ทีมตำบลจนท.สธ.จาก รพ.สต. เช่น พบาลเวช/นวก/ทันตา/จพง./แพทย์/แผนไทย /จนท.สธ.อื่นๆ ทีมชุมชน เช่น อสม./อปท./กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/แกนนำ/จิตอาสา/ภาคีอื่นๆ ครอบครัว 1 ... 20 อสม. 1,250-2,500 ดูแลความเสี่ยงตามกลุ่มอายุ ดูแลรพ.สต. 1-3 แห่ง/ทีม 1 ... อสม. 20 หมอครอบครัว/ พี่เลี้ยงทีมชุมชน ช่วยเหลือดูแลครอบครัว/ผู้ป่วย ที่ปรึกษา/พี่เลี้ยงทีมตำบล CBL,KM 1,250-2,500 ระบบให้คำปรึกษา-รับและส่งต่อ
เครื่องมือในการทำงานของทีมหมอครอบครัว Clinical guideline ออกโดยราชวิทยาลัย หรือหน่วยงานอื่นๆซึ่งมีอยู่แล้ว 12
กรอบ เป้าหมาย กระบวนการ และผลลัพธ์ของนโยบาย FCT INPUT Process Output Outcome มอบนโยบาย สร้างความร่วมมือของหน่วยงานทุกระดับ ปรับ/จัดโครงสร้างทีมหมอครอบครัวให้เหมาะสมตามบริบท และทรัพยากรที่มีอยู่ พัฒนาทีมหมอครอบครัวให้มีคุณภาพครอบคลุมทุกพื้นที่ สนับสนุนทรัพยากรงบเพิ่มเติม ใช้การจัดการตามระบบการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ : DHS การนำกระบวนการเรียนรู้ตามบริบทพื้นที่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ โดยใช้ : CBL KMในการเสริมศักยภาพทีม ใช้หลักเวชศาสตร์ครอบครัวให้บริการ เสริมพลังสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ปฏิบัติ 1. มีทีมหมอครอบครัวครอบคลุมทุกพื้นที่ 2. ทีมหมอครอบครัวมีศักยภาพดูแลให้บริการ ตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว 3. ครอบครัวและชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมทุกมิติ ทั้งในหน่วยบริการและที่บ้านอย่างใกล้ชิดดุจญาติ 4.มีระบบการรับ-ส่งต่อประสานในทุกระดับอย่างใกล้ชิด 5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลครอบคลุมครบถ้วน ครอบครัว ชุมชน มีสถานะสุขภาพที่ดีขึ้น มีความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ ครอบครัว ชุมชน มีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้รับการปกป้องด้านสังคมและการเงินจากความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ ระบบดูแลสุขภาพมีความสามารถในการตอบสนองปัญหาสุขภาพและกลุ่มเสี่ยงที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
หลักการ Family care team สู่การปฏิบัติ การจัดการโครงสร้าง family care team และ capacity building การ tracer ระบบโดยใช้ ผู้สูงอายุติดเตียง palliative care คนพิการ การบูรณาการกับ งานประจำ ,dhs, service plan
Goal รพศ. รพท. สธ. จังหวัด DHS สสจ. ประชาชนสุขภาพดี สธ. สรพ. สปสช. Health Need Essential Care Family Care Team รพ.,สสอ รพสต. รพศ. รพท. สธ. กระทรวงอื่น สรพ. สปสช. สสส. สช. สพช. อปท. อสม. จิตอาสา นโยบาย กรรมการ FCT สธ. (สบรส.) จังหวัด สสจ. DHS
Goal รพศ. รพท. สธ. สป. กรม สำนัก เขต จังหวัด DHS สสจ. ประชาชนสุขภาพดี Health Need Essential Care Family Care Team รพ.,สสอ รพสต. รพศ. รพท. อปท. อสม. จิตอาสา สธ. สป. กรม สำนัก Service plan นโยบาย กรรมการ FCT นโยบาย เขต จังหวัด สสจ. DHS สบรส. สบส.
กรรมการขับเคลื่อนนโยบายในสธ. ทันตกรรม ผู้สูงอายุ Palliative care Long term care Family medicine (สบพช.,สบช) Family care team (สบรส.,สนย,สบส) กรมการแพทย์ กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทย
Roadmap Family Care Team ระยะสั้น
Roadmap Family Care Team พฤศจิกายน มอบนโยบาย ทำความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ จัดทำ concept paper ของ family care team ตั้งคณะทำงานและขับเคลื่อน family care team ให้เป็นรูปธรรม ตั้งคณะทำงานเฉพาะประเด็น เช่น การบริหารจัดการ ประชาสัมพันธ์ จัดทำองค์ ความรู้ การประสานงาน การผลิตและพัฒนาบุคลากร จัดเวทีชี้แจงแนวทางการดำเนินการ family care team ต่อผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ คัดเลือกอำเภอนำร่องที่มีความพร้อม 250 อำเภอ โดยใช้ประเด็น คนพิการ palliative care และผู้สูงอายุติดเตียง ทีมผู้บริหาร ออกติดตาม ชื่นชม เสริมพลังให้กำลังใจ 4 ภาค/12 เขต จัดเวทีเสนอผลงาน family care team พฤศจิกายน พฤศจิกายน 22ธค.57 ธันวาคม มค.-เมย. มิถุนายน
Roadmap Family Care Team ระยะสั้น 17 พฤศจิกายน ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 21 พฤศจิกายน 21 พฤศจิกายน ประชุมเตรียมการร่วมกับ สธ.และ ส.ต่างๆ พฤศจิกายน ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 28 พฤศจิกายน ประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ธันวาคม ประชุมคณะกรรมการดำเดินการ 22 ธันวาคม จัดงาน kick off family care team
กำหนดการ 22 ธค. 57 เช้า เสนอ Multivision / ละคร แถลงนโยบาย และแนวทางสู่การปฏิบัติ อภิปราย FCT (motto) แนวทางการสนับสนุนการดำเนินการ จากส.ต่างๆ และกรมต่างๆ บ่าย นำเสนอ Best practice จากพื้นที่ทุกระดับ อภิปรายสรุปผลการดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย สธ. ผู้บริหารกระทรวงสธารณสุข สสจ./ ผอ.รพศ. /ผอ.รพท. /รพช./สสอ./รพสต. ผู้แทนจากกระทรวงต่างๆ พม. มท. ศธ.
เนื้อหา จัดบูทนิทรรศการ - Family care team คนพิการ Pallative Care ผู้สูงอายุติดเตียง
สถานที่ เมืองทองธานี เจ้าภาพหลัก สบรส.
คนไทย ไม่ทอดทิ้งกัน