ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาอุบัติเหตุ 27 กย 57.
Advertisements

การบ้านสรพ. 16ธค.54.
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
SERVICE PLAN สาขาศัลยกรรม จังหวัดกาฬสินธุ์. การดำเนินงานปี 2557 KPI  Refer out รพ. แม่ข่าย (M2, F1) < 40%  รพ. แม่ข่าย (M2, F1) ผ่าตัดไส้ติ่ง เพิ่มขึ้น.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
สรุปผลการดำเนินงาน คณะที่ 2 Service Plan รอบ 2 / 2559
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
Morning talk with executive
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
ครั้งที่ 10/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
การพัฒนางานเภสัชกรรม
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
สรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการการเงินการคลัง (CFO)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

จำนวนบุคลากรโรงพยาบาล ประเภท ปฏิบัติงานจริง ข้าราชการ 287 แพทย์ 33 ทันตแพทย์ 10 เภสัชกร 8 พยาบาลวิชาชีพ 171 พยาบาลเทคนิค 1 ข้าราชการอื่นๆ 64 พนักงานราชการ 27 ลูกจ้างประจำ 44 ลูกจ้างชั่วคราว 3 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 156 รวม 517

ข้อมูลแพทย์ สาขา จำนวน(คน) อายุรแพทย์ 5 ศัลยแพทย์ 2 สูตินรีแพทย์ 3 กุมารแพทย์ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ จักษุแพทย์ โสตศอนาสิกแพทย์ 1 วิสัญญีแพทย์ จิตแพทย์ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป 13 รวม 33

สิทธิการรักษาพยาบาล ประชากร ณ 30 เม.ย.59 จำนวน 68,203 คน

จำนวนวันนอนเฉลี่ย/วัน สถิติผู้ป่วย สถิติผู้ป่วย ปี งปม.58 ปี งปม.59 ผู้ป่วยนอก จำ นวน เฉลี่ยต่อเดือน ต.ค. 58 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 59 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. รวม จำนวนผู้ป่วยนอก 147,840 11,790 11,906 11,714 12,146 11,475 12,014 13,638 11,792 12,370 97,055 เฉลี่ย/วัน 495 490 498 500 472 529 561 502 509 508 ผู้ป่วยใน วันนอนทั้งหมด 40,783 3,399 3,091 3,299 3,538 2,822 3,530 3,710 4,269 3,749 28,008 จำนวนวันนอนเฉลี่ย/วัน 112 100 110 114 91 122 120 142 121 115 อัตราครองเตียง 74.5 66.5 70.9 76.1 60.7 75.9 79.8 91.8 80.6 76.5 CMI 1.27 1.13 1.25 1.38 1.26 1.34 1.30 1.08

ผลการดำเนินงานตาม Service Plan Srisangwan Hospital ผลการดำเนินงานตาม Service Plan

Srisangwan Hospital 1.สาขาหัวใจ

1.สาขาหัวใจ ผลการดำเนินงานปี 2559 1.สาขาหัวใจ ผลการดำเนินงานปี 2559 Srisangwan Hospital 1.มีการประชุมคณะทำงานสาขา Stroke - STEMI 1 ครั้ง ( 14 มี.ค.2559 ) 2. มีแนวทางปฏิบัติ (Clinical Practice Guidelines : CPG)การให้คำปรึกษาและการส่งต่อในการดูแลรักษาผู้ป่วย Stroke-STEMI ระหว่างแม่ข่ายกับลูกข่ายบริการ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3.มีแนวทางการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปีงบประมาณ 2559 ทั้งระบบ ( อายุรกรรม / ศัลยกรรม / กุมารเวชกรรม /จักษุ /หู คอ จมูก /กระดูก / STEMI / Stroke Fast Tract ) 4. รพ.ระดับ F2 สามารถให้ยา SK ได้ 100 % (จ.แม่ฮ่องสอนทำได้มาแล้ว4 แห่ง และได้เพิ่มอีก 3 แห่ง ได้แก่ รพ.ปางมะผ้า รพ.แม่ลาน้อย และ รพ.สบเมย ซึ่งได้เริ่ม เดือน มี.ค. 59 เพื่อให้ได้ครบ 7 แห่งตามเป้าหมาย ) 5. มี รพ.ที่มีระบบการจัดการ warfarin clinic ตั้งแต่ระดับ F2 ขึ้นไป จำนวน 6 แห่ง(ยกเว้น รพ.สบเมย ) สำหรับ CHF Clinic ( ตั้งแต่ M2 ขึ้นไป ) ยังไม่มีการจัดตั้ง

ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559(8 เดือน) 1.อัตราผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดและ/หรือการขยายเลือดเลือดหัวใจ(PPCI) ≥ 75 81.08 (30/37) 96.67 (29/30) 2.อัตราตาย STEMI ≤10 2.70 (1/37) 6.67 (2/30)

ปัญหาและอุปสรรค 1.ยังมีปัญหาการให้ SK ล่าช้า (มากกว่า 30 นาที) Srisangwan Hospital ปัญหาและอุปสรรค 1.ยังมีปัญหาการให้ SK ล่าช้า (มากกว่า 30 นาที) เนื่องจากระบบการ consultทำให้ล่าช้า 2.ผู้ป่วยปฏิเสธ/ตัดสินใจ การได้รับ SK ล่าช้า 3.Condition ผู้ป่วยไม่เหมาะสมที่จะให้

2.สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน Srisangwan Hospital 2.สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

Srisangwan Hospital ตัวชี้วัด Service ค่าเป้าหมาย ปี 2558 ปี 2559 (ตค58-พค59) หมายเหตุ อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยใน จากการบาดเจ็บ (๑๙สาเหตุ) ที่มีค่า Ps score ≥ ๐.๗๕ ใน รพ.ระดับ A <ร้อยละ ๑ ร้อยละ 0.34 ผ่าน ร้อยละของ ER คุณภาพในรพ.ระดับ A , S และ M1 (รพ.ระดับ A,S ในปี 2559 รพ.ระดับ M ในปี 2560) -รพ.ศรีสังวาลย์ (S) -รพ.แม่สะเรียง (M2) 71.4 - 74 73.7 ร้อยละของ ECS คุณภาพในรพ.ระดับ A,S และ M1 ผ่านขั้นตอน 1-3 ทุก รพ. 7 แห่ง

ข้อมูลการส่งต่อโรงพยาบาลศรีสังวาลย์ Srisangwan Hospital ข้อมูลการส่งต่อโรงพยาบาลศรีสังวาลย์ ลำดับ Refer 2558 2559(เม.ย.) Refer in Refer out  1 Med 196 138 143 83 2 Surg 200 67 122 46   -HI 14 11 -Appendic 101 36 1 -surg(อื่นๆ) 85 72 34 3 Obs-Gyne 91 5 55 4 Ped 50 38 35 Ortho 367 10 222 6 Eye 7 ENT 8 จิตเวช 13 15 รวม 953 300 587 203

กระบวนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา รวมถึง เชิงบูรณาการแบบสหสาขาวิชาชีพ กระบวนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา รวมถึง เชิงบูรณาการแบบสหสาขาวิชาชีพ 1.จัดระบบการจัดการ trauma fast track ที่โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ (S)และเริ่มดำเนินการระบบที่โรงพยาบาลแม่สะเรียง(M1) 2.จัดทำ Trauma auditPs>0.75 และ ผู้บาดเจ็บที่เสียชีวิต(dead case conference)ทุกราย.ผ 3. ประเมินและพัฒนา ส่วนขาดตามเกณฑ์ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ S และ M2 นำมาสู่การพัฒนาบุคลากร ด้านสมรรถนะ การเสนอความต้องการส่วนขาดด้านอัตรากำลัง และครุภัณฑ์ การปรับปรุงเชิงโครงสร้างในระดับ M2 4.พัฒนาระบบบริการ EMS เพื่อการนำส่งผู้ป่วยอุบัติเหตุทาง EMSเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะผู้บาดเจ็บวิกฤติฉุกเฉิน เกณฑ์สี แดงนำส่งโดยรถ รถพยาบาล ALS 5.พัฒนาระบบส่งต่อ: ระบบการปรึกษาแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลแม่ข่าย / การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยาน/มาตรฐานการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บวิกฤติ/การใช้โปรแกรม Thai refer,/การจัดตั้งคณะกรรมการส่งต่อระดับจังหวัด / จัดประชุมคณะกรรมการส่งต่อระดับจังหวัด / จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยาน / การทบทวน dead case ผ่านระบบ Telemedicine

กระบวนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา รวมถึง เชิงบูรณาการแบบสหสาขาวิชาชีพ 6. พัฒนาศักยภาพทีมดูแล ส่งแพทย์อบรมหลักสูตร ATLS 2 คน, หลักสูตร PHTLS 2 คน ส่งพยาบาลอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางการพยาบาลฉุกเฉิน (EN) 1 คน, การพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน (ENP) 1 คน สาขาการพยาบาลผู้ ประสานงานการบาดเจ็บ (Trauma Nurse coordinator) ส่งทีมรักษาพยาบาล ศึกษาดูงานด้านการดูแลผู้บาดเจ็บศีรษะ ที่โรงพยาบาลนครพิงค์ 7.จัดระบบความพร้อมบริการผ่าตัดสมองที่โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ ภายใต้การสนับสนุนประสาทศัลยแพทย์ผ่าตัดกรณีฉุกเฉิน จากโรงพยาบาลนครพิงค์ 8.จัดตั้ง TEA unit ขึ้น ที่โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ 9.จัดระบบการจัดการข้อมูลอุบัติเหตุ : การใช้โปรแกรม injury surveillance ทุกระดับอย่างมีคุณภาพ การบูรณาการฐานข้อมูลการตาย 3 ฐาน 10.มาตรการป้องกันอุบัติเหตุ 11.การจัดการสาธารณภัย : ทุกโรงพยาบาลมีการจัดทำแผนรองรับภัยพิบัติ และบูรณาการแผน ร่วมซ้อมแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Srisangwan Hospital 3.สาขามะเร็ง

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital ≤ร้อยละ 26ต่อแสนประชากร ผลสำเร็จ ศรีสังวาลย์ แม่สะเรียง ปาย ขุนยวม ปางมะผ้า แม่ลาน้อย สบเมย รวม จำนวนตายจากโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ (C22) 3 4 1 8 ประชากรกลางปี 60,968 54,529 37,260 22,865 21,089 35,910 41,568 274,189

Srisangwan Hospital คัดกรอง มะเร็งตับและท่อน้ำดี CASCAP เป้าหมาย 1,500ราย คัดกรองและลงโปรแกรมได้ 750 ราย = 50% การทำ ultrasound ยังไม่ได้ดำเนินการ มีสูตินรีแพทย์ และ ศัลยแพทย์ไปเรียนรู้เพิ่มเติม

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย ข้อเสนอแนะ/สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อ การทำทะเบียนมะเร็ง -การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บ การวิเคราะห์ประมวลผล การรายงาน -มีเจ้าหน้าที่เรียนรู้เรื่องทะเบียนมะเร็งเพิ่ม (แพทย์/พยาบาล) -มี cancer nurse coordinator -กำลังอยู่ในช่วงดำเนินการทำทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล(ส่งเจ้าหน้าที่ไปอบรมเชิงปฏิบัติการเมื่อ 1-3 มิ.ย. 2559) -ทำregister ปี2559ก่อน ใช้program thai cancer base การตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ด้วยUltrasound แพทย์เรียนรู้ การทำ Ultrasound (ขอสนับสนุนรังสีแพทย์)

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital

Srisangwan Hospital 4.สาขาทารกแรกเกิด

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – มี.ค.59) Srisangwan Hospital อัตราการตายของทารกอายุ ≤ 28 วัน (น้ำหนักแรกเกิด ≥ 500 กรัม) เป้าหมาย <5 :1,000 ทารกเกิดมีชีพปี 2559 ผลการดำเนินงาน ศรีสังวาลย์ แม่สะเรียง ปาย ขุนยวม ปางมะผ้า แม่ลาน้อย สบเมย รวม จำนวนทารกแรกเกิดที่เสียชีวิตอายุ≤ 28 วัน 1 4 จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพ 424 469 208 189 98 126 89 1603

จำนวนเตียง NICU เพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการบริบาลทารกป่วยเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๐ของเตียงที่ต้องการ ลำดับ โรงพยาบาล จำนวนเตียง NICU Sick Newborn 1 โรงพยาบาลศรี สังวาลย์ 6+2(ปี 61) 12 2 โรงพยาบาลแม่สะ เรียง 2+2(ปี 61)

ผลการดำเนินงาน Srisangwan Hospital 1. จัดอบรมความรู้ เรื่อง STABlE Program แก่ จนท.ทุก รพ. รวม 81 คน 2. การจัดระบบ Referใน-นอกเครือข่าย แบบ Fast Track ติดต่อ กุมารแพทย์โดยตรง ไม่ผ่าน ER 3. เตรียมสถานที่+อุปกรณ์+บุคลากร เพื่อเพิ่มจำนวนเตียง NICU รพ.ศว. 6 เป็น 7 เตียง (ปี 60) 4. ทำ Screening OAE ROP และ IVH ได้ 5. คัดกรองโรคหัวใจในทารกแรกเกิดทุกราย 6. การจัดทำระบบการบันทึกข้อมูล แบบ Online แผนการดำเนินงานในห้วง 4 เดือนหลัง ปีงบประมาณ 2559 1. อบรมพยาบาลใน รพ.ทุกแห่ง เรื่อง NCPR ในเดือน ก.ค.59 2. ชี้แจงการจัดทำระบบข้อมูลรายงานสาขาทารกแรกเกิด 3. ฝ่ายเภสัชกรรมรพท. ส่งจนท.เข้าอบรมTPN

Srisangwan Hospital สถานการณ์ จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษามีสูงกว่าจำนวนเตียงที่รองรับโดยเฉพาะ Sick Newborn อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วย Sick Newborn ไม่เพียงพอเช่นตู้อบเด็ก ,เครื่อง Bed Side Monitor มีปัญหาภาวะแทรกซ้อนระหว่างส่งต่อ ขาดอุปกรณ์ที่จำเป็นในการส่งต่อเช่นเครื่องช่วยหายใจ จำนวน ปี 2558 ปี 2559 Sick Newborn 344 205

Srisangwan Hospital 5.สาขาไต

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital ร้อยละของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีการลดลงของ eGER น้อยกว่า4มล/นาที/1.72 ตร.ม/ปี เป้าหมาย ร้อยละ 50 รายการ ศรีสังวาลย์ แม่สะเรียง ปาย รวม จำนวนผู้เข้ารับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม(คน) 6 5 17 จำนวนผู้เข้ารับการล้างไตทางช่องท้อง(คน) 3 28

จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Srisangwan Hospital จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โรค 2559(จังหวัด) จำนวนคน ร้อยละ โรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 3359 26.70 โรคไตเรื้อรังระยะที่ 2 5762 48.81 โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 3008 23.91 โรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 290 2.30 โรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 158 1.2 12,577

โอกาสพัฒนา 1.เปิด CKD clinic ให้ครบทุกโรงพยาบาล โดยจะเปิดเต็มรูปแบบที่โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ 2.โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ เปิด HD unit เป็น 8 unit ในปี 2560 3.ส่งอบรมเฉพาะทาง พยาบาล HD CAPD

Srisangwan Hospital 6.สาขาตา

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – มี.ค.59) Srisangwan Hospital เป้าหมาย ≥ร้อยละ75 ผลการดำเนินงาน เมือง แม่สะเรียง ปาย ขุนยวม ปางมะผ้า แม่ลาน้อย สบเมย รวม จำนวนผู้สูงอายุ 60ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ 3573 2957 2640 2415 1149 2666 1459 16859 จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด (คน) 6030 7213 3398 2819 1410 4080 3783 28733

การออกหน่วยคัดกรองตาบอดจากต้อกระจกในโรงพยาบาลชุมชน Srisangwan Hospital การออกหน่วยคัดกรองตาบอดจากต้อกระจกในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาล รอบที่ 1 รอบที่ 2 จำนวนผู้ป่วย(ราย) รพ.ปาย 2-3 มีนาคม 2558 7-8 เมษายน 2559 263 รพ.ปางมะผ้า 14 พฤษภาคม 2558 59 รพ.ขุนยวม 28 กรกฎาคม 2558 70 รพ.แม่ลาน้อย 12พฤศจิกายน 2558 33 รพ.แม่สะเรียง 14 มกราคม 2559 35 รพ.สบเมย 6กุมภาพันธ์ 2559 90

การผ่าตัด Blind & Severe LV ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital การผ่าตัด Blind & Severe LV เป้าหมาย >80

ผู้ป่วยไม่มานัดผ่าตัด Srisangwan Hospital ปัญหา การดำเนินงาน ผู้ป่วยไม่มานัดผ่าตัด บางพื้นที่ยังมีปัญหาการคัดกรองไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 1.ค้นหาผู้ป่วยที่ตกค้างในพื้นที่ห่างไกล 2.เพิ่มยอดการผ่าตัด cataract ทั้งในและนอกเวลาราชการ มีระบบ Fast track (Blinding cataract ) 3.จัดเพิ่มครุภัณฑ์การผ่าตัดให้เพียงพอกับการบริการ

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital 9. 5 สาขาหลัก

ผลการดำเนินงาน (ต.ค.58 – พ.ค.59) Srisangwan Hospital ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2559 1 Appendectomy at M2 25 64.17 2 Caesarean section at M2 10 48.23 3 Non-displaced Fracture care at M2 (RW<0.5) 14.71 4 Decrease refer in sepsis 30 5 Decrease refer in pediatric respirator 33.33

Srisangwan Hospital สูติกรรม

จำนวนครั้งการผ่าตัดคลอด ศรีสังวาลย์ แม่สะเรียง ปาย จำนวนครั้ง 205 176 15

Srisangwan Hospital ศัลยกรรม

จำนวนผู้ป่วยผ่าตัดไส้ติ่ง Srisangwan Hospital จำนวนผู้ป่วยผ่าตัดไส้ติ่ง

Srisangwan Hospital อายุรกรรม

ผลการดำเนินงาน(Sepsis) Srisangwan Hospital ผลการดำเนินงาน(Sepsis) จัดตั้ง Group line Service Plan Med MHS เชิญผู้รับผิดชอบงาน sepsis และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลรักษาผู้ป่วยและลงข้อมูลเข้าร่วมกลุ่ม โรงพยาบาลทุกแห่งใน จังหวัดแม่ฮ่องสอนเข้าร่วมในเครือข่าย SEPNET ลงทะเบียนเพื่อลงข้อมูลผู้ป่วย sepsis จัดประชุมวิชาการ Practical Points in sepsis ,Guideline Sepsis และ การลงข้อมูลผู้ป่วย sepsis ในภาพรวมของจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีผู้รับผิดชอบงาน sepsis และ ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมในวันที่ 1 เมษายน 2559

ข้อมูลการส่งต่อ refer Sepsis Srisangwan Hospital ข้อมูลการส่งต่อ refer Sepsis ผลการดำเนินงาน ศรีสังวาลย์ แม่สะเรียง ปาย ขุนยวม แม่ลาน้อย สบเมย ปางมะผ้า รวม เดือน เมษายน 2559 2 (เชียงใหม่) 1 3 เดือน พฤษภาคม 2559 (จอมทอง) 4

ผลการดำเนินงาน Sepsis (โรงพยาบาลศรีสังวาลย์) Srisangwan Hospital ผลการดำเนินงาน Sepsis (โรงพยาบาลศรีสังวาลย์) ลำดับ KPI เป้า หมาย 2557 2558 2559 (พ.ค.) 1 อัตราตายผู้ป่วย Sepsis <30% 27.66 (39/141) (13/47) 17.65 (9/51) 2 อัตรา ABO ภายใน 1 ชม 100 84.71

Srisangwan Hospital ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ในการวินิจฉัย Septic shock ตามแนวทางของ SEPSIS 3 ต้องใช้ blood lactate ประกอบการวินิจฉัยซึ่งยังขาดงบประมาณของแต่จังหวัดเพื่อซื้ออุปกรณ์และเครื่องในการตรวจ เพิ่มงบประมาณในการเจาะ H/C เนื่องจากตามแนวทางปฏิบัติให้มีการเจาะ H/C ในผู้ป่วยที่สงสัยSepsis/septic shock ทุกราย การลงข้อมูลผู้ป่วย sepsis ใน SEPNETยังไม่ถูกต้อง และ ครบถ้วน

Srisangwan Hospital กุมารเวชกรรม

จำนวนเครื่อง Ventilator ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ปี2559 ร้อยละผู้ป่วย On ventilator รพ M2 ลงมาส่งต่อรพท. ลดลงจากBase line 30% 33.33 (ปี 59 6 ราย ปี 58 9 ราย) จำนวนเครื่อง Ventilator รพ จำนวน ศรีสังวาลย์ 6 แม่สะเรียง 2

Srisangwan Hospital กระดูกและข้อ

จำนวน non-displaced Fracture ที่รักษาในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน(ราย)ต.ค.-พ.ค.59 รพ ศว 186 (Refer in 30 ราย) รพ สบเมย 5 รพ ปางมะผ้า 17 รพ.ขุนยวม 26 รพ.ปาย 69 รพ.แม่ลาน้อย 23 รพ.แม่สะเรียง 64 รวม 390 non-displaced Fracture ที่Refer in คิดเป็นร้อยละ 14.71 Refer 2558 2559 Refer in Refer out Ortho 367 10 222

Srisangwan Hospital 10.Stroke

Srisangwan Hospital

Stroke ศรีสังวาลย์ ปาย ปางมะผ้า ขุนยวม แม่ลาน้อย แม่สะเรียง สบเมย รวม จำนวนผู้ป่วย Ischemic Stroke เสียชีวิต 3 2 8 จำนวนผู้ป่วย Ischemic Stroke 81 17 13 6 4 127 ร้อยละผู้ป่วย Ischemic Stroke ที่ เสียชีวิต 3.70 0.00 50.00 6.30 จำนวนผู้ป่วย hemorrhagic strokeเสียชีวิต 9 5 14 จำนวนผู้ป่วย hemorrhagic stroke 30 15 50 ร้อยละผู้ป่วย hemorrhagic stroke ที่เสียชีวิต 30.00 100.00 28.00

Srisangwan Hospital ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงาน 1.ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล ไม่อยู่ใน Golden period ของการให้ rTPA 2.อัตราผู้ป่วยเสียชีวิตยังสูงอยู่ (hemorrhagic stroke) 1.Stroke unit ที่โรงพยาบาลศรีสังวาลย์เริ่ม มีนาคม 2558 2.ตั้งทีมสหสาขาดูแลผู้ป่วยstroke 3.ให้ความรู้เจ้าหน้าที่ รพช. รพสต อสม ครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 4.stroke Alert ป้ายประชาสัมพันธ์ ปฏิทิน magnet ติดตู้เย็น 5.ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือทุกโรงพยาบาลชุมชน 14 มีนาคม 2559 ในการตั้งทีมสหสาขาดูแลผู้ป่วย 6. Door to CT ลดลง 7.พัฒนาระบบส่งต่อ

ข้อมูลการเงินการคลัง Srisangwan Hospital ข้อมูลการเงินการคลัง

ข้อมูลการเงินการคลัง Srisangwan Hospital ประจำเดือน CR QR Cash I/E Ratio Risk Scoring ต.ค. 58 1.28 1.04 0.69 0.84 3 พ.ย. 58 1.38 0.63 0.82 ธ.ค. 58 1.30 0.95 0.52 0.90 5 ม.ค. 59 1.48 1.20 0.79 1.75 2 ก.พ. 59 1.37 1.10 0.74 0.65 มี.ค. 59 1.32 1.06 0.76 1.02 เม.ย. 59 1.18 0.92 0.64 0.73 4 พ.ค. 59 1.21 0.93 0.60 1.11

แผนประมาณการรายได้และค่าใช้จ่าย( Planfin ) ต.ค.58 – พ.ค.59 รายการ ประมาณการปี 59 งบทดลอง (8 เดือน) คิดเป็นร้อยละ รายได้   รายได้ UC 75,486,562.72 61,438,042.80 81.39% รายได้งบลงทุน 13,746,700.00 5,187,963.40 37.74% รายได้จาก EMS 301,050.00 160,800.00 53.41% รายได้ค่ารักษาเบิกต้นสังกัด 6,275,975.87 3,671,183.46 58.50% รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง 40,145,422.78 28,101,073.03 70.00% รายได้ประกันสังคม 10,341,732.16 11,097,197.41 107.31% รายได้แรงงานต่างด้าว 1,115,107.17 848,211.07 76.07% รายได้ค่ารักษาและบริการอื่น ๆ 44,494,850.15 35,980,864.75 80.87% รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร 115,972,129.52 78,691,138.38 67.85% รายได้อื่น 46,844,526.80 16,476,540.74 35.17% รวมรายได้ 354,724,057.17 241,653,015.04 68.12%

แผนประมาณการรายได้และค่าใช้จ่าย( Planfin ) ต.ค.58 – พ.ค.59 (ต่อ) รายการ ประมาณการปี 59 งบทดลอง (8 เดือน) คิดเป็นร้อยละ ต้นทุนยา 59,633,702.42 30,800,661.78 51.65% ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ 24,684,748.17 15,782,904.15 63.94% ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 10,470,645.77 6,002,748.37 57.33% เงินเดือนและค่าจ้างประจำ 115,972,129.52 78,967,302.34 68.09% ค่าจ้างชั่วคราว 21,875,127.25 14,099,364.51 64.45% ค่าตอบแทน 57,919,851.38 40,131,021.12 69.29% ค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่น 7,533,468.21 3,150,465.96 41.82% ค่าใช้สอย 18,055,395.37 9,306,708.72 51.55% ค่าสาธารณูปโภค 8,198,832.63 4,692,929.06 57.24% วัสดุใช้ไป 8,127,272.95 6,623,816.53 81.50% ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 36,265,169.54 19,112,827.51 52.70% ค่าใช้จ่ายอื่น 27,389,700.80 22,916,356.73 83.67% รวมค่าใช้จ่าย 396,126,044.01 251,587,106.78 63.51% รายได้ หัก ค่าใช้จ่าย -41,401,986.84 -9,934,091.74 23.99%

เปรียบเทียบหนี้

ขอบคุณครับ