ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

MDConsult Core Collection โดย จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
Best Practices for Managing A Project
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระบวนการตีพิมพ์งานวิจัย ในวารสารวิชาการ
โดยการใช้ Layer และ Timeline
เป็นคำถามที่ชวนนักศึกษาแลกเปลี่ยน คำตอบคืออะไร ไม่สำคัญเท่ากับ การให้ เหตุผลประกอบคำตอบ คำถามต่อไป แล้วบรรลุเป้าหมายอย่างไรบ้าง เราเขียนข้อความ หรืออัพรูปในเฟส.
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
การประกันคุณภาพของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ. ศ P A C D.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การนำเสนอผลงานวิจัย จ.อุดรธานี
หน่วยที่ 2 วิธีการคิดคำสุทธิ เนื้อหา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
กระบวนการวิจัย Process of Research
Windows Movie Maker Tawatchai Muttanang RMUTT.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
Karaoke (flash). 1. เข้าโปรแกรม Flash สร้าง Layer Sound พร้อมกับ Insert Frame ( ประมาณเฟรม 25 เพื่อจะได้เห็นเส้นเสียง )
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
การประชุมคณะอนุกรรมการ พิจารณาแนวทางการจัดทำฐานข้อมูล ด้านความมั่นคง ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๙.
การฝึกอบรมคืออะไร.
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การรายงานแผนและผลการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศ CAD_CA
AFP surveillance การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน
Line สำหรับผู้สูงอายุ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
โดย น.อ.ชลธร สุวรรณกิตติ ผอ.กวส.พร. ประชุม นขต.พร. ๑๒ ต.ค.๖๑
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
ลักษณะทั่วไปของคำในภาษาไทย
นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข นางอรวรรณ ดวงจันทร์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 28 ธันวาคม 2559 ณ.โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น.
การรับสารด้วยการอ่าน
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
กลไกการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอม
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
ภาษาในวรรณคดี ผู้สอน : อาจารย์การัณยภาส สัมดี.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
Happy work place index & Happy work life index
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
제 10장 데이터베이스.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
การเสนอโครงร่างโครงงานวิจัย (Research Proposal)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรมป้องกัน นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ ผอ.รพ.สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 5 กรกฏาคม 2560

Timeline 30-90 วัน เพื่อนำเสนอ ครม. ประชุมร่วมคณะเล็ก มท. และ สธ. เป็นแกน พร้อมกับ พม. สปสช. สสส. สช. และกฤษฎีกา เมื่อ 8, 19, 26 มิย. และ 3 กค. 2560 หารือและได้รับข้อเสนอแนะ ที่ปรึกษา รมว. สธ. (อ.มยุรา กุสุมภ์) อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมควบคุมโรค(รอง อธิบดี) 3 กค. รองปลัดกทม. และคณะ 4 กค.

ร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ประกอบด้วย 1. ชื่อ 2. วัตถุประสงค์ (หลักการและเหตุผล) 3. ฐานอำนาจในการออกระเบียบ 4. คณะกรรมการนโยบายฯ 5. คณะกรรมการ และ องค์ประกอบ 6. คุณสมบัติกรรมการ การได้มา การพ้นวาระ 7. อำนาจหน้าที่ 8. การดำเนินการ/ปฏิบัติงานของคณะกรรมการ 9. เลขานุการ สำนักงานเลขานุการ และอำนาจหน้าที่ 10. การบังคับใช้ระเบียบ 11. ค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน 12. ผู้รักษาการตามระเบียบนี้

ชื่อ ใช้ตามมติ ครม. “คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ” วัตถุประสงค์ มี key words “บูรณาการ” “การมีส่วนร่วม” ประชาชน เอกชน รัฐ “ภาวะการนำร่วม” ฐานอำนาจในการออกระเบียบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 11 (6) (8) คกก.และองค์ประกอบ คุณสมบัติ การได้มา การพ้นวาระ

องค์ประกอบ ทั่วไป (โดยตำแหน่ง 2 และการคัดเลือก 19) 1. ภาครัฐ(6) ส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่นและท้องที่ (อปท. กำนัน ผญบ.) 2. เอกชน และ ผู้ประกอบวิชาชีพ(6) 3. ประชาสังคม(7) (ประชาชน องค์กรภาคประชาชน) ประธาน : นายอำเภอ (ตามสรุป บยศ. และ มติ ครม.) เลขานุการ : สสอ. จำนวน ใช้สัดส่วนในแต่ละกลุ่มใกล้เคียงกัน ไม่เกิน.... คน โดยกำหนดจำนวนทั้งหมด ไม่เกิน 21 คน หลักการ : ให้มีความหลากหลายและ เป็นไปได้ในการเลือกคนในพื้นที่

อำเภอขนาดเล็ก อำเภอขนาดกลาง อำเภอขนาดใหญ่ รวม 11 คน รวม 17 คน นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ปลัดอำเภอ นายกอบต. กำนัน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. ประชาชน พระ อสม. นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ผู้กำกับฯ ปลัดอำเภอ นายกเทศฯ นายกอบต. กำนัน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. เจ้าของร้านขายยา ประชาชน พระ อสม. ผู้สูงอายุ นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ปลัดอำเภอ พัฒนากร นายกเทศฯ ปลัด อบต. ผู้ใหญ่บ้าน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. เจ้าของร้านขายยา แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว พยาบาลวิชาชีพ ประชาชน พระ อสม. ผู้สูงอายุ ผู้จัดการมูลนิธิ หมอยาพื้นบ้าน ชมรมเยาวชน ชมรมสตรี รวม 11 คน รวม 17 คน รวม 21 คน

องค์ประกอบ กทม. (โดยตำแหน่ง 4 และการคัดเลือก 19) 1. ภาครัฐ(6) ส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่นและท้องที่ 2. เอกชน และ ผู้ประกอบวิชาชีพ(6) 3. ประชาสังคม (7) (ประชาชน องค์กรภาคประชาชน) ประธาน : ผู้อำนวยการเขต เลขานุการ : ผอ.ศูนย์บริการสาธารณสุข ผช เลขานุการ : หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม หัวหน้าฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน ใช้สัดส่วนในแต่ละกลุ่มใกล้เคียงกัน ไม่เกิน.... คน โดยกำหนดจำนวนทั้งหมด ไม่เกิน 23 คน

อำนาจหน้าที่ 1. กำหนดแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 2. ดำเนินการให้เกิดการขับเคลื่อนตามแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ตาม (1) โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนภายในและภายนอกเขตอำเภอ 3. บูรณาการและระดมทรัพยากรที่มีอยู่ในอำเภอ ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนตามแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 5. เสนอแนะและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินงานในเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

อำนาจหน้าที่ (ต่อ) 6. ประสานงานกับ พชอ. ในอำเภออื่น เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 7. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 8. เรียกให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชนในอำเภอ จัดส่งข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ หรือการดำเนินงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 9. ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็นและต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการดำเนินการตามระเบียบนี้ หรือตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ พชอ. หรือตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย การดำเนินการตาม (๑) ให้รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ และภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินสถานการณ์และสภาพปัญหาต่าง ๆ ในอำเภอด้วย

ระดับประเทศ “คกก.นโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ” รมว มท. สธ. ที่ปรึกษา ปลัด มท. และ ปลัดสธ. ประธานร่วม คกก : ปลัดพม. ปลัดศธ. อธิบดีกรมการปกครอง กรมพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เลขาฯสปสช. ผู้จัดการ สสส. เลขาฯสช. เลขานุการ : รองปลัด สธ. ที่รับผิดชอบกลุ่มภารกิจด้านการพัฒนาการสาธารณสุข

การดำเนินการ/ปฏิบัติงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) วาระ 2 ปี ไม่เกิน 3 วาระ ให้ พชอ. รายงานความก้าวหน้า ปัญหา หรืออุปสรรคในการดำเนินงาน รวมทั้งขอรับการสนับสนุน ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดและคณะกรรมการนโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ หรือ คณะกรรมการระดับจังหวัดที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับอำเภอที่ พชอ. เห็นสมควร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เป็นสำนักงานเลขานุการ (ศูนย์บริการสาธารณสุขเขต กทม.) ค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ตั้งที่ สธ. ในระยะเริ่มต้น การบังคับใช้ระเบียบ ให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไปทุกพื้นที่ ผู้รักษาการระเบียบ รมว.มท. และ รมว.สธ.

ประเด็นเพื่อพิจารณา ขอบเขตอำนาจหน้าที่ (ระดับความเข้มข้น) การบังคับใช้ : เป็นไปตามระเบียบนี้ หรือจะให้มีบทเฉพาะกาลของพื้นที่กทม. (เงื่อนเวลา และเงื่อนพื้นที่) พิจารณาเห็นชอบ Timeline เสนอ ครม. - ประชุม คกก.จัดทำร่างฯ ตามคำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ 911/2560 - กำหนดวันและรูปแบบเพื่อเสนอ ครม.