ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ด้านเวชกรรมป้องกัน นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ ผอ.รพ.สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 5 กรกฏาคม 2560
Timeline 30-90 วัน เพื่อนำเสนอ ครม. ประชุมร่วมคณะเล็ก มท. และ สธ. เป็นแกน พร้อมกับ พม. สปสช. สสส. สช. และกฤษฎีกา เมื่อ 8, 19, 26 มิย. และ 3 กค. 2560 หารือและได้รับข้อเสนอแนะ ที่ปรึกษา รมว. สธ. (อ.มยุรา กุสุมภ์) อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมควบคุมโรค(รอง อธิบดี) 3 กค. รองปลัดกทม. และคณะ 4 กค.
ร่าง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ประกอบด้วย 1. ชื่อ 2. วัตถุประสงค์ (หลักการและเหตุผล) 3. ฐานอำนาจในการออกระเบียบ 4. คณะกรรมการนโยบายฯ 5. คณะกรรมการ และ องค์ประกอบ 6. คุณสมบัติกรรมการ การได้มา การพ้นวาระ 7. อำนาจหน้าที่ 8. การดำเนินการ/ปฏิบัติงานของคณะกรรมการ 9. เลขานุการ สำนักงานเลขานุการ และอำนาจหน้าที่ 10. การบังคับใช้ระเบียบ 11. ค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน 12. ผู้รักษาการตามระเบียบนี้
ชื่อ ใช้ตามมติ ครม. “คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ” วัตถุประสงค์ มี key words “บูรณาการ” “การมีส่วนร่วม” ประชาชน เอกชน รัฐ “ภาวะการนำร่วม” ฐานอำนาจในการออกระเบียบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 11 (6) (8) คกก.และองค์ประกอบ คุณสมบัติ การได้มา การพ้นวาระ
องค์ประกอบ ทั่วไป (โดยตำแหน่ง 2 และการคัดเลือก 19) 1. ภาครัฐ(6) ส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่นและท้องที่ (อปท. กำนัน ผญบ.) 2. เอกชน และ ผู้ประกอบวิชาชีพ(6) 3. ประชาสังคม(7) (ประชาชน องค์กรภาคประชาชน) ประธาน : นายอำเภอ (ตามสรุป บยศ. และ มติ ครม.) เลขานุการ : สสอ. จำนวน ใช้สัดส่วนในแต่ละกลุ่มใกล้เคียงกัน ไม่เกิน.... คน โดยกำหนดจำนวนทั้งหมด ไม่เกิน 21 คน หลักการ : ให้มีความหลากหลายและ เป็นไปได้ในการเลือกคนในพื้นที่
อำเภอขนาดเล็ก อำเภอขนาดกลาง อำเภอขนาดใหญ่ รวม 11 คน รวม 17 คน นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ปลัดอำเภอ นายกอบต. กำนัน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. ประชาชน พระ อสม. นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ผู้กำกับฯ ปลัดอำเภอ นายกเทศฯ นายกอบต. กำนัน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. เจ้าของร้านขายยา ประชาชน พระ อสม. ผู้สูงอายุ นอภ ประธาน สสอ เลขาฯ รัฐ ผู้อำนวยการ รพ. ปลัดอำเภอ พัฒนากร นายกเทศฯ ปลัด อบต. ผู้ใหญ่บ้าน เอกชน/ผู้ประกอบวิชาชีพ ผอ.รพ.สต. เจ้าของโรงงาน ผู้อำนวยการ รร. เจ้าของร้านขายยา แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว พยาบาลวิชาชีพ ประชาชน พระ อสม. ผู้สูงอายุ ผู้จัดการมูลนิธิ หมอยาพื้นบ้าน ชมรมเยาวชน ชมรมสตรี รวม 11 คน รวม 17 คน รวม 21 คน
องค์ประกอบ กทม. (โดยตำแหน่ง 4 และการคัดเลือก 19) 1. ภาครัฐ(6) ส่วนราชการ ส่วนท้องถิ่นและท้องที่ 2. เอกชน และ ผู้ประกอบวิชาชีพ(6) 3. ประชาสังคม (7) (ประชาชน องค์กรภาคประชาชน) ประธาน : ผู้อำนวยการเขต เลขานุการ : ผอ.ศูนย์บริการสาธารณสุข ผช เลขานุการ : หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม หัวหน้าฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล จำนวน ใช้สัดส่วนในแต่ละกลุ่มใกล้เคียงกัน ไม่เกิน.... คน โดยกำหนดจำนวนทั้งหมด ไม่เกิน 23 คน
อำนาจหน้าที่ 1. กำหนดแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 2. ดำเนินการให้เกิดการขับเคลื่อนตามแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ตาม (1) โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนภายในและภายนอกเขตอำเภอ 3. บูรณาการและระดมทรัพยากรที่มีอยู่ในอำเภอ ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนตามแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 5. เสนอแนะและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินงานในเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
อำนาจหน้าที่ (ต่อ) 6. ประสานงานกับ พชอ. ในอำเภออื่น เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 7. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 8. เรียกให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานของเอกชนในอำเภอ จัดส่งข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดแผนงาน เป้าหมาย ทิศทาง และยุทธศาสตร์ หรือการดำเนินงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ 9. ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็นและต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการดำเนินการตามระเบียบนี้ หรือตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ พชอ. หรือตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย การดำเนินการตาม (๑) ให้รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในอำเภอ และภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินสถานการณ์และสภาพปัญหาต่าง ๆ ในอำเภอด้วย
ระดับประเทศ “คกก.นโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ” รมว มท. สธ. ที่ปรึกษา ปลัด มท. และ ปลัดสธ. ประธานร่วม คกก : ปลัดพม. ปลัดศธ. อธิบดีกรมการปกครอง กรมพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น อธิบดีกรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เลขาฯสปสช. ผู้จัดการ สสส. เลขาฯสช. เลขานุการ : รองปลัด สธ. ที่รับผิดชอบกลุ่มภารกิจด้านการพัฒนาการสาธารณสุข
การดำเนินการ/ปฏิบัติงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) วาระ 2 ปี ไม่เกิน 3 วาระ ให้ พชอ. รายงานความก้าวหน้า ปัญหา หรืออุปสรรคในการดำเนินงาน รวมทั้งขอรับการสนับสนุน ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดและคณะกรรมการนโยบายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ หรือ คณะกรรมการระดับจังหวัดที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับอำเภอที่ พชอ. เห็นสมควร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เป็นสำนักงานเลขานุการ (ศูนย์บริการสาธารณสุขเขต กทม.) ค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน ของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ตั้งที่ สธ. ในระยะเริ่มต้น การบังคับใช้ระเบียบ ให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไปทุกพื้นที่ ผู้รักษาการระเบียบ รมว.มท. และ รมว.สธ.
ประเด็นเพื่อพิจารณา ขอบเขตอำนาจหน้าที่ (ระดับความเข้มข้น) การบังคับใช้ : เป็นไปตามระเบียบนี้ หรือจะให้มีบทเฉพาะกาลของพื้นที่กทม. (เงื่อนเวลา และเงื่อนพื้นที่) พิจารณาเห็นชอบ Timeline เสนอ ครม. - ประชุม คกก.จัดทำร่างฯ ตามคำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ 911/2560 - กำหนดวันและรูปแบบเพื่อเสนอ ครม.