บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
โดยคณะวิทยากร (สสวท. ครูและคณาจารย์)
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก 5 สี ดีต่อสุขภาพ
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
กรวรรณ งามสม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
พืชตระกูลหญ้าและพืชที่มีลักษณะคล้ายหญ้า
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
Scene Design and Lighting Week1-3
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 1 ทบทวนพฤกษศาสตร์ของพืช
SMS News Distribute Service
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
Tree.
Structure of Flowering Plant
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai

บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้ำของพืช 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช 12.6 การลำเลียงธาตุอาหารของพืช 12.7 การลำเลียงสารอาหารของพืช

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ 2. สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายลักษณะโครงสร้างของราก ลำต้น ใบ ที่สัมพันธ์กับหน้าที่ 3. สำรวจตรวจสอบโครงสร้างภายในตัดตามขวางของราก ลำต้น ใบ 4. สำรวจตรวจสอบตำแหน่งและจำนวนปากใบของพืชในท้องถิ่น 5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการคายน้ำของพืช 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารอาหารของพืช 7. สำรวจตรวจสอบอัตราการคายน้ำของพืช 8. เขียนผังมโนทัศน์เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

ใบ (Leaf)

http://www.infovisual.info/01/008_en.html

12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ 12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ 12.3.3 หน้าที่ของใบ

12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ 12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ ประกอบด้วย แผ่นใบ (blade) ก้านใบ (petiole) หูใบ (stipule)

Outer structure of leaf http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html

ลักษณะเส้นใบของพืช (Leaf Venation) http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

ลักษณะใบของพืช ใบสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ใบสามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดต่าง ๆ ได้แก่ 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) หนึ่งก้านใบมีใบเดียว เช่น มะละกอ ตำลึง เป็นต้น 2. ใบประกอบ (compound leaf) หนึ่งก้านใบมีหลายใบ เช่น กุหลาบ กระถิน เป็นต้น

1. Simple Leaf tip- the terminal point of the leaf. blade-the flattened, green, expanded portion of a leaf. margin- edge of a leaf. midrib-the most prominent central vein in a leaf. lateral veins-secondary veins in a leaf. petiole-the leaf stalk (connects blade to stem). stipules-leaf-like appendages (at the base of petiole of some leaves). http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html

1. Simple Leaf: One Blade http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

2. Compound Leaf leaflet- secondary leaf of a compound leaf. rachis- an extension of the petiole bearing leaflets. petiolule-the leaflet stalk. petiole-the leaf stalk lateral veins-secondary veins in a leaf. stipules-leaf-like appendages (at the base of petiole of some leaves). http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html

2. Compound Leaf: Blade Divided Into Leaflets A. Palmately Compound (Digitate): No Rachis http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

B. Pinnately Compound (Pinnate): With A Rachis http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

C. Pinnately and Palmately Trifoliate http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

D. Twice Pinnately Compound (Bipinnate) http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

E. Pinnatid: Pinnately Dissected Nearly To The Midrib http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

Leaf Arrangement (Phyllotaxy) http://waynesword.palomar.edu/termlf1.htm

Leaf Arrangement whorled http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html

12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ โครงสร้างภายในของใบประกอบด้วย 1. epidermis 12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ โครงสร้างภายในของใบประกอบด้วย 1. epidermis 2. mesophyll 2.1 palisade mesophyll 2.2 sponge mesophyll 3. vascular bundle

Inner structure of leaf http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.html

http://extension.oregonstate.edu/mg/botany/images/fig12a-big.gif

dicot leaf http://generalhorticulture.tamu.edu/lectsupl/anatomy/anatomy.html

http://www. botany. hawaii. edu/nlc_biology/1411/lab/LeafLab/slide8 http://www.botany.hawaii.edu/nlc_biology/1411/lab/LeafLab/slide8.jpg

Monocot leaf and dicot leaf http://www.botany.hawaii.edu/faculty/webb/Bot201/Angiosperm/magnoliophyta3.htm

ตอบคำถาม http://images.botany.org/set-13/

1. Epidermis Epidermis เป็นเนื้อเยื่อผิว ได้แก่ เซลล์ผิว (epidermis cell) เซลล์ขน (hair cell) หรือเปลี่ยนไปเป็นเซลล์คุม (guard cell) epidermis cell มักไม่มีคลอโรพลาสต์ หรือมีน้อยกว่า guard cell epidermis cell มี cutin เคลือบเพื่อป้องกันการระเหยของน้ำ

Guard cell guard cell มีรูปร่างคล้ายไต หรือเมล็ดถั่ว 2 เซลล์ประกบกัน พืชที่มีปากใบ (stoma) เฉพาะด้านบนของใบ คือ พืชที่ลอยปริ่มน้ำ เช่น บัว พืชที่ไม่มีปากใบ (stoma) และ cutin เคลือบ คือ พืชที่จมอยู่ใต้น้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก พืชที่มีปากใบ (stoma) ทั้งด้านบนและด้านล่างของใบ เช่น ข้าวโพด

Guard cell http://waynesword.palomar.edu/photsyn1.htm

2. Mesophyll เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ที่อยู่ระหว่าง epidermis ทั้งสองด้าน ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma ที่มีคลอโรพลาสต์จำนวนมาก โดยทั่วไป parenchyma ใน dicot จะมีเซลล์ 2 แบบ คือ 2.1 Palisade mesophyll 2.2 Sponge mesophyll

2.1 Palisade mesophyll Palisade mesophyll มักพบอยู่ใต้ชั้น upper epidermis ประกอบด้วยเซลล์รูปร่างยาว เรียงตัวเป็นแถวตั้งฉากกับผิว คล้ายรั้ว ภายในมีคลอโรพลาสต์ค่อนข้างหนาแน่น

2.2 Sponge mesophyll Sponge mesophyll อยู่ถัดจาก palisade mesophyll จนถึงชั้น lower epidermis ประกอบด้วยเซลล์ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เรียงตัวในทิศทางต่าง ๆ กัน ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเซลล์มากมาย ภายในมีคลอโรพลาสต์น้อยกว่า palisade mesophyll

3. Vascular bundle vascular bundle ประกอบด้วย xylem และ phloem พืชบางชนิด vascular bundle จะล้อมรอบด้วย bundle sheath เช่น ใบข้าวโพด พืชบางชนิด bundle sheath มี fiber ช่วยทำให้ vascular bundle แข็งแรงขึ้น พืชบางชนิดมี parenchyma ซึ่งมีคลอโรพลาสต์หรือไม่มีก็ได้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของพืช ส่วนใหญ่ vascular bundle อยู่ในชั้น sponge mesophyll

Mid vein of a Ligustrum leaf. x100 http://www.lima.ohio-state.edu/academics/biology/archive/leaves.html

12.3.3 หน้าที่ของใบ หน้าที่หลักของใบ คือ 12.3.3 หน้าที่ของใบ หน้าที่หลักของใบ คือ สร้างอาหาร ด้วยการสังเคราะห์แสง หายใจ คายน้ำ แลกเปลี่ยนแก๊ส และอื่น ๆ

หน้าที่อื่น ๆ ของใบ เปลี่ยนใบเป็นหนามเพื่อลดการคายน้ำ และอันตรายจากสัตว์อื่นมากัดกิน เช่น กระบองเพชร ใบมีลักษณะอวบน้ำเพื่อเก็บสะสมอาหาร เช่น ว่านหางจระเข้ พืชน้ำบางชนิดมีก้านใบพองโตเป็นทุ่นทำให้ลอยน้ำได้ เช่น ผักตบชวา ใบเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ยึดเกาะ และพยุงลำต้น เช่น ดองดึง ถั่วลันเตา เป็นต้น ใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นถุงดักแมลง หรือสัตว์เล็ก ๆ เช่น หม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง หยาดน้ำค้าง เป็นต้น

ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง http://siamensis.org/images/survey_images/s022/mor.jpg http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=196990

References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. http://www.eduzones.com/vichakan/bio/bio5.html http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm http://generalhorticulture.tamu.edu/h202/labs/lab2/leafm.html http://www.lima.ohio-state.edu/academics/biology/archive/leaves.html http://sps.k12.ar.us/massengale/plant_structure_bi1.htm http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week8/06angiospermintro.html

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao