บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME www.ssru.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

เลือกหน่วยงาน องค์การ สถาบัน
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
Lesson 4 Product.
Lesson 8 Personal Selling.
MK201 Principles of Marketing
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
การจัดการผลิตภัณฑ์และตราสินค้า
การตลาดแบบเดิม(Inside out)
กรอบแนวคิดและแผนงานการสื่อสาร
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
Integrated Marketing Communication : IMC
เกณฑ์ประเมินสื่อ.
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
วาระสุดท้ายมาถึงแล้ว 11 สิงหาคม 2556
Strategic management กลยุทธ์ปฏิบัติการ กรณีศึกษา
รศ.ยุทธนา ธรรมเจริญ.
การอบรมเชิงปฏิบัติการการนำเข้า ส่งออกตามโครงการส่งเสริมและ พัฒนาองค์ความรู้ผู้ประกอบการ ธุรกิจชายแดน ครั้งที่ 2 โดย ปาณิดล ชัยปาณี โดย ปาณิดล ชัยปาณี
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
E-Commerce Chapter 1 Introduction to e-commerce
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
Minicase Padaso Plus Coffee.
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
บทที่ 6 “การตลาดสำหรับธุรกิจขนาดย่อม”
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
บทที่ 13 การจัดจำหน่าย.
บทที่ 7 ราคา Price.
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
บทนำ 1 ความหมายของการตลาด แนวความคิดหลักทางการตลาด
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 10 การวางแผนธุรกิจ
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อผลทางการสื่อสาร และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หลักการ และ กระบวนการขายออนไลน์
วิธีการเขียน Business Model Canvas
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด.
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
MK201 Principles of Marketing
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
Origin Group Present.
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
หลักการทางด้านการตลาด
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
บทที่ 1 ผลิตภัณฑ์บริการ
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตใน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME www.ssru.ac.th

ความหมาย การตลาด (Marketing) หมายถึง การกระทำกิจกรรม ต่าง ๆ ในธุรกิจที่ทำให้เกิดการนำสินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค หรือผู้ใช้บริการนั้นๆ โดยได้รับความพอใจ ขณะเดียวกันก็บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการ www.ssru.ac.th

การวางแผนการตลาดสำหรับธุรกิจ SME โดยใช้ 4P’s เป็นแผนกลยุทธ์ทางการตลาด ที่นักการตลาดใช้กันมาอย่างต่อเนื่อง และเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี หลักการใช้ 4P’s คือ การวางแผนในแต่ละส่วนให้เข้ากัน และเป็นที่ต้องการของกลุ่ม เป้าหมายที่เราเลือกเอาไว้ให้มากที่สุด 4P’s ประกอบด้วย Product Price Place or Distribution Promotion www.ssru.ac.th

การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการกำหนดตำแหน่งในตลาด การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการกำหนดตำแหน่งในตลาด STP 1 2 3 การแบ่งส่วนตลาด Segmentation การกำหนด/เลือก ตลาดเป้าหมาย Targeting การกำหนดตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์/ตลาด Positioning ใครอาจเป็นลูกค้าได้บ้าง ลูกค้ากลุ่มไหนที่เราเลือก ลูกค้าเลือกผลิตภัณฑ์ ของเราเพราะเหตุใด www.ssru.ac.th

การเข้าถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ลูกค้าของเราเป็นใครได้บ้าง เขาต้องการอะไร ทำไมถึงมาซื้อที่เรา ใครเกี่ยวข้องบ้างต่อการตัดสินใจซื้อ เขาซื้อกันอย่างไร ซื้อเมื่อไร ซื้อที่ไหน WHO? WHAT? WHY? WHO PARTICIPATES? HOW? WHEN? WHERE? www.ssru.ac.th

การเข้าถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย นำไปสู่ การกำหนดลูกค้าเป้าหมายที่ชัดเจน เข้าใจคู่แข่งขัน หาจุดขายที่โดดเด่นโดนใจลูกค้า ใช้กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด (4P’s) ที่มีประสิทธิภาพ www.ssru.ac.th

Customer solution/ Convergence ส่วนประสมการตลาด : 4Ps 4Cs Customer solution/ Convergence Cost to customer/ Customer value Convenience/ Channel Communication 4C’s Product Price Place Promotion 4P’s www.ssru.ac.th

P1 = Products ประเภทของผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ คือ สิ่งใดๆ ที่นำเสนอแก่ตลาด เพื่อให้เกิดความสนใจ ความต้องการเป็นเจ้าของ การใช้ หรือการบริโภค ซึ่งสนองต่อความต้อง การหรือความจำเป็นของผู้ซื้อให้ได้รับความพอใจ โดยผลิตภัณฑ์นั้น เป็นได้ทั้งที่ สัมผัสได้ และสัมผัสไม่ได้ ประเภทของผลิตภัณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Goods) สินค้าอุตสาหกรรม (Industrial Goods) www.ssru.ac.th

สินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าสะดวกซื้อ (Convenience Goods) แบ่งได้ตามแรงจูงใจและนิสัยในการซื้อ ดังนี้ สินค้าสะดวกซื้อ (Convenience Goods) สินค้าเปรียบเทียบซื้อ (Shopping Goods) สินค้าเจาะจงซื้อ (Specialty Goods) สินค้าไม่แสวงซื้อ (Unsought Goods) www.ssru.ac.th

ประเภทของสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าหลัก สินค้าสะดวกซื้อ สินค้าซื้อฉับพลัน สินค้าซื้อฉุกเฉิน www.ssru.ac.th

ประเภทของสินค้าอุปโภคบริโภค ซื้อเหมือนกัน สินค้าเปรียบเทียบซื้อ ซื้อต่างกัน สินค้าเจาะจงซื้อ สินค้าไม่แสวงซื้อ www.ssru.ac.th

สินค้าอุตสาหกรรม วัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ (Materials and Parts) แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ วัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ (Materials and Parts) สินค้าประเภททุน (Capital Items) วัสดุสิ้นเปลืองและบริการ (Supplies and Services) www.ssru.ac.th

ประเภทของสินค้าอุตสาหกรรม วัตถุดิบ (Raw Material) วัตถุดิบ และชิ้นส่วนประกอบ Material and Parts วัสดุและชิ้นส่วนประกอบในการผลิต (Manufactured Materials & Parts) www.ssru.ac.th

ประเภทของสินค้าอุตสาหกรรม สิ่งติดตั้ง (Installation) สินค้าประเภททุน Capital Items อุปกรณ์ประกอบ (Accessory Equipment) www.ssru.ac.th

ประเภทของสินค้าอุตสาหกรรม วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies) วัสดุสิ้นเปลือง และบริการ Supplies and services บริการ (services) www.ssru.ac.th

องค์ประกอบของสินค้า www.ssru.ac.th

Product Product Seller’s quality Physical services Characteristics of goods Seller’s reputation Product Brand Color Packaging Product warranty Design www.ssru.ac.th

กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ BCG Model : The Boston Consulting Group Question Marks Stars Dogs Cash Cows www.ssru.ac.th

P2 = Price หมายถึง จำนวนเงินที่บุคคลต้องจ่ายเพื่อตอบแทนกับการได้รับ กรรมสิทธิ์ สิทธิ ความสะดวกสบายและความพอใจในผลิตภัณฑ์ นั้นให้กับเจ้าของเดิม หมายถึง สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการในรูปของเงินตรา www.ssru.ac.th

นโยบายและกลยุทธ์ราคา (Pricing Policies and Strategies) นโยบายระดับความยืดหยุ่นของราคา (Flexible Level of Price) นโยบายราคาเดียว (One Price Policy) นโยบายราคายืดหยุ่นได้ (Flexible Price Policy) www.ssru.ac.th

P3 = Place or Distribution หมายถึง กลุ่มของบุคคลหรือองค์กรธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการในการเคลื่อนย้ายกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม www.ssru.ac.th

ประเภทของช่องทางการจัดจำหน่าย ประกอบด้วย 1. ช่องทางการตลาดทางตรง (Direct Marketing Channel) 2. ช่องทางการตลาดทางอ้อม (Indirect Marketing Channel) www.ssru.ac.th

ช่องทางการตลาดทางตรง (Direct Marketing Channel) หมายถึง การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรมโดยไม่ผ่านคนกลาง เช่น พนักงานขาย Direct Mail Web Site/ Email Tele Marketingงานแสดงสินค้า BOOT Machines ผู้ผลิต ผู้บริโภค / ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม www.ssru.ac.th

ช่องทางการตลาดทางอ้อม (Indirect Marketing Channel) หมายถึง การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม ที่ต้องผ่านคนกลางหนึ่งรายหรือมากกว่าหนึ่งราย ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค www.ssru.ac.th

P4 = Promotion หมายถึง กระบวนการทางด้านการติดต่อสื่อสารทางการตลาด ระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย และผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการซื้อ เพื่อเป็นการ ให้ข้อมูล ชักจูงใจ หรือตอกย้ำเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และตรายี่ห้อ รวม ทั้งเพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงความเชื่อ ทัศนคติ ความรู้ สึก และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย www.ssru.ac.th

Integrated Marketing Communication การสื่อสารการตลาดแบบประสมประสาน 4P’s Product Price Place Promotion Advertising Public Relations (PR) Personnel selling Sales Promotion Direct Marketing IMC Integrated Marketing Communication การสื่อสารการตลาดแบบประสมประสาน www.ssru.ac.th

การสื่อสารทางการตลาดแบบครบเครื่อง (IMC) การโฆษณา การขายโดยพนักงาน การส่งเสริมการขาย การประชาสัมพันธ์ การตลาดทางตรง การตลาดโดยการจัดกิจกรรมพิเศษ การจัดแสดงสินค้า การจัดโชว์รูม การจัดศูนย์สาธิตสินค้า การจัดสัมมนา การจัดนิทรรศการ การจัดศูนย์ฝึกอบรม การให้บริการ การใช้เครือข่ายการสื่อสาร อิเล็กทรอนิกส์ www.ssru.ac.th

เครื่องมือโฆษณาสำหรับกิจการขนาดเล็ก สติ๊กเกอร์ สมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง คนแต่งตัวเป็นตุ๊กตาสัญลักษณ์ของบริษัท ป้ายโฆษณา การออกไปปรากฏตัวและร่วมทำกิจกรรมทางสังคมของผู้บริหาร Direct Mail โบชัวร์แผ่นพับ รถเร่ Web Site สื่อท้องถิ่น เช่นหนังสือพิมพ์ในโรงเรียน เสียงตามสาย www.ssru.ac.th

ความสำคัญของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ก่อให้เกิดนวัตกรรม 4 ประการ ที่กระทบต่อธุรกิจ เศรษฐกิจและสังคม ตลาดใหม่ ผู้ผลิตสินค้าสามารถจำหน่ายสินค้าให้กับลูกค้าทั่วโลก โดยไม่ต้องผ่านคนกลาง ทำให้ผู้ซื้อสามารถเลือกผู้ขายได้มากขึ้น จึงเกิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ขึ้น 2. กระบวนการทำงานแบบใหม่ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา ทำให้เพิ่ม ประสิทธิภาพในการทำงาน www.ssru.ac.th

3. ผลิตภัณฑ์ใหม่ สินค้าใหม่ภายใต้ระบบนี้คือข้อมูลนั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ เพลง ภาพยนตร์ ข่าวสาร 4. กระจายโอกาสทางการศึกษาและการแพทย์ในวงกว้าง www.ssru.ac.th

ข้อดีและข้อจำกัดของ E-Commerce ข้อดี 1 สามารถเปิดดำเนินการได้ 24 ชั่วโมง 2 ตัดปัญหาการต่อรองราคา หรือปัญหาเรื่องนายหน้า 3 ลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 4 ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมมีโอกาสมากขึ้น 5 โอกาสทางธุรกิจเท่าเทียมกัน 6 การประชาสัมพันธ์ทำได้ง่ายขึ้น www.ssru.ac.th

ข้อเสีย 1. ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล 2 ข้อเสีย 1. ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล 2. ความเสี่ยงในการชำระเงินทางอินเทอร์เน็ต 3. ขาดความรู้ด้านกฎหมายการทำธุรกรรมอีเล็กทรอนิกส์ 4. ขาดความรู้เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ต www.ssru.ac.th

แบบฝึกหัด เลือกผลิตภัณฑ์มา 1 ชนิด แล้ววิเคราะห์หัวข้อดังต่อไปนี้ แล้วอธิบายมาให้เข้าใจอย่างละเอียด 1. กำหนด STP Marketing 2. BCG MATRIX ของผลิตภัณฑ์อยู่ตรงจุดไหน 3. ใช้กลยุทธ์การตั้งราคาเป็นแบบใด 4. ออกแบบสื่อโฆษณาด้วยโบชัวร์ในสินค้าดังกล่าว www.ssru.ac.th

จบการบรรยาย www.ssru.ac.th