ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการดำเนินงานของ ปตท. ปี 2545
Advertisements

สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
Dichapong Pongpattrachai, Ph.D., CPA.
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Current Liabilities หนี้สินระยะสั้น.
บทที่ 3 วงจรบัญชี : การบันทึกบัญชี 2.
Financial Management.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
LIABILITIES Chapter 10. I.O.U. Defined as debts or obligations arising from past transactions or events. Maturity = 1 year or lessMaturity > 1 year Current.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 BASIC FINANCIAL STATEMENTS Chapter 3.
INVESTMENTS Chapter 6 (2) Understanding the Business A company may invest in the securities of another company to: Earn a return on idle funds.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS ) Chapter 3.
Financial Statement Analysis
วัฎจักรทางการบัญชี –ภาคจบ (THE ACCOUNTING CYCLE 2)
Principles of Accounting
Business Expansion using Debt: Wade’s Office furniture
Financial Planning and Forecasting
Managerial Accounting for Management
LIABILITIES Chapter 10 2.
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
บทที่ 10 การออกแบบรายงาน Output Design
หลักการและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
การวิเคราะห์งบการเงิน
การวิเคราะห์งบการเงิน
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งบการเงิน 1. ฝ่ายบริหาร 2. ผู้ลงทุน
Principles of Accounting
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
Principles of Accounting I
บทที่ 5 การปิดบัญชี และการจัดทำงบการเงิน
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
A.Petcharee Sirikijjakajorn
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน.
Principles of Accounting I
การพัฒนางานเภสัชกรรม
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
การเปิดรับความเสี่ยงจากธุรกรรมการค้า (Transaction Exposure)
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
บทที่ 8 การจัดการลูกหนี้ ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
การเงินระหว่างประเทศ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การวิเคราะห์งบการเงิน
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Principles of Accounting I
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
Principles of Accounting I
บรรยายสรุป ประมวลความรู้วิชาการจัดการการเงิน Advanced Program อ. ดร
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์ สหกรณ์เป็นองค์การของสมาชิก ซึ่งเป็นทั้งเจ้าของ(ผู้ลงทุน)และ ผู้ใช้บริการ (ลูกค้า) ในเวลาเดียวกัน ผลตอบแทนที่ให้แก่ทุนเรือนหุ้นมีอัตราจำกัด ลักษณะของสหกรณ์ที่เป็นวิสาหกิจบริการตนเอง สมาชิกจึงมีหน้าที่โดยตรงในการให้เงินทุนแก่สหกรณ์ สหกรณ์เป็นวิสาหกิจเฉพาะ ผลประโยชน์ทั้งหมดเป็นของสมาชิก สหกรณ์ต้องเป็นองค์การที่มีความเป็นอิสระ 9/17/2018

จุดประสงค์ของการบริหารการเงิน สหกรณ์แตกต่างจากสถาบันการเงินอื่น ตรงที่เจ้าของกิจการ และ ผู้ใช้บริการ คือสมาชิก ซึ่งเป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน จุดมุ่งหมายของการบริหารการเงินของสหกรณ์จึงไม่ใช่ผลกำไร สูงสุดของสหกรณ์ แต่เพื่อประโยชน์สูงสุดของมวลสมาชิกร่วมกัน การที่สหกรณ์ดำเนินงานโดยใช้นโยบาย “ราคาตลาด” ผลกำไร จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะการใช้ “ราคาตลาด” สหกรณ์ จึงจำเป็นต้องมีกำไรเช่นเดียวกับธุรกิจอื่น ๆ (แต่สหกรณ์มีวิธีการคืนกำไรไปสู่สมาชิกผู้ใช้บริการ) 9/17/2018

กำไรของสหกรณ์ “ผลกำไร” จึงเป็นเครื่องวัดความสามารถในการจัดการ สหกรณ์ได้ในเชิงธุรกิจ ในขณะเดียวกันสหกรณ์ต้องดำเนินนโยบาย ทางการเงิน ที่จะเอื้อประโยชน์ทั้งแก่สมาชิกในฐานะผู้ออม ทั้งในรูปเงินฝากและการถือหุ้น (ซึ่งต้องการผลตอบแทนสูงในระดับที่พอใจ) และสมาชิกในฐานะผู้กู้หรือผู้ใช้บริการ (ซึ่งต้องการจ่ายดอกเบี้ยต่ำ หรือ ระดับราคาสินค้าและบริการ ที่อยู่ในระดับ ที่พอใจเช่นกัน) ความขัดแย้งของผลประโยชน์ จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในมวลสมาชิก และ สหกรณ์ต้องดำเนินบทบาท ที่จะประสานประโยชน์เพื่อลดความขัดแย้งนี้ลงให้เหลือน้อยที่สุด 9/17/2018

งบการเงิน งบการเงิน ที่สำคัญ ๆ คือ งบกำไรขาดทุน ซึ่งแสดงถึงผลการ ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งจะแสดงรายได้และค่าใช้จ่าย และผลต่างคือกำไรหรือขาดทุน งบดุล ซึ่งแสดงฐานะของกิจการ จะแสดงรายการสินทรัพย์ หนี้สิน และของส่วนผู้เป็นเจ้าของของกิจการ งบกระแสเงินสด ซึ่งแสดงการได้มา การใช้ไปของเงินสดของกิจการ งบกำไรสะสม หรือ งบแสดงส่วนของทุน เป็นงบแสดงส่วนของเจ้าของกิจการ 9/17/2018

การวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์งบการเงินพื้นฐาน โดยใช้อัตราส่วนและเทคนิคต่าง ๆ การวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบ 9/17/2018

การวิเคราะห์งบการเงินพื้นฐาน การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์ผลประกอบการ (กำไร) โดยใช้การย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์ผลประกอบการ (กำไร) จากอัตราการเติบโต การวิเคราะห์การใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ การวิเคราะห์การใช้ประโยชน์จากแหล่งเงินทุน การวิเคราะห์อัตราการเติบโตที่ยั่งยืน อัตราส่วนของภาพรวมทั้งระบบ (ตลาด) อัตราส่วนที่เกี่ยวกับผลตอบแทนและความเสี่ยง 9/17/2018

การวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบ เทียบกับข้อมูลในอดีต (ของตัวเอง) เทียบกับกิจการอื่น (บางกิจการ คู่แข่ง หรือ กิจการตัวอย่าง) เทียบกับกิจการอื่นในอุตสาหกรรม(ภาพรวม) 9/17/2018

1.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน 1.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน Profitability Analysis using Ratios 9/17/2018

อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้(ขาย) Return on Sales: ROS = Net Income / Sales ชื่ออื่น ๆ Net Profit Margin : NPM 9/17/2018

อัตราส่วนผลตอบแทนขั้นต้นต่อรายได้(ขาย) Gross Margin = Gross Profit / Total Revenue กำไรขั้นต้น ชื่ออื่น ๆ Gross Profit Margin : GPM 9/17/2018

อัตราส่วนผลตอบแทนจากการดำเนินงานต่อรายได้(ขาย) กำไรจากการดำเนินงาน Operating Profit on Sales = Operating Profit / Net Sales ชื่ออื่น ๆ Operating Profit Margin : OPM 9/17/2018

อัตราส่วนผลตอบแทน(อื่น ๆ) ต่อรายได้(ขาย) กำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่ายและภาษี EBIT on Sales = EBIT / Net Sales กำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมราคา D และส่วนตัดจ่าย A EBITDA on Sales = EBIT / Net Sales 9/17/2018

2.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้การย่อส่วนตามแนวดิ่ง 2.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้การย่อส่วนตามแนวดิ่ง Profitability Analysis using Common size Statements 9/17/2018

3.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราการเติบโต 3.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราการเติบโต Profitability Analysis Using Growth Rates 9/17/2018

อัตราการเติบโต อัตราการเติบโตจากปีก่อน Growth Rate t = (Value t – Value t-1 ) x 100 Value t-1 อัตราการเติบโตต่อปี ระหว่างช่วงเวลาหลาย ๆ ปี คำนวณจาก ข้อมูลปีสุดท้าย = ข้อมูลปีแรกสุด (1 + g) t เมื่อ g คืออัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อช่วงเวลา และ t คือ ช่วงเวลา 9/17/2018

4. อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหาร (ใช้ประโยชน์)สินทรัพย์ 4. อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหาร (ใช้ประโยชน์)สินทรัพย์ (Asset Utilization Ratios) 9/17/2018

อัตราส่วนการหมุนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover Ratio : TATO) อัตราส่วนนี้ใช้วัดความสามารถในการใช้สินทรัพย์รวมของกิจการ โดยจะพิจารณาว่าสินทรัพย์ 1 หน่วย สามารถก่อให้เกิดรายได้แก่กิจการมากน้อยเพียงใดในรอบระยะเวลาหนึ่ง (รอบปีทางบัญชีหนึ่ง) หรือสินทรัพย์ดังกล่าวมีการหมุนกี่รอบในช่วงเวลานั้น คำนวณจาก อัตราการหมุนของสินทรัพย์=รายได้(หรือยอดขายสุทธิ)/สินทรัพย์รวม Total Assets Turnover = Net Sales / Total Assets 9/17/2018

อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (Return on Assets : ROA) Return on Assets(ROA)=Net Income / Total Assets Return on Assets(ROA)=Net Income Net Sales Net Sales Total Assets ROS x TATO X 9/17/2018

Return on Assets Return on Assets=(Net Income+Interest Expenses)(1- t)/Total Assets เมื่อ Return on Assets คือ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ Net Income คือ กำไรสุทธิ Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ย (1-t) คือ ( 1 – อัตราภาษี ) Total Assets คือ สินทรัพย์รวม 9/17/2018

อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน อัตราส่วนการหมุนของสินค้า (กี่รอบในช่วงเวลาหนึ่งปี) Inventory Turnover = Cost of Sales / Average Inventory 9/17/2018

Days Inventory (Held) = 365/ Inventory Turnover อายุเฉลี่ยของสินค้าคงคลัง (ต้องเก็บไว้กี่วันจึงขายได้) Days Inventory (Held) = 365/ Inventory Turnover เมื่อ Inventory Turnover = Cost of Sales / Average Inventory 9/17/2018

อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน อัตราส่วนการหมุนของลูกหนี้การค้า (เมื่อมีการขายเชื่อ) Accounts Receivable Turnover = Credit Sales / Average Accounts Receivable Accounts Receivable to Sales = Average Accounts Receivable(100)/Net Sales 9/17/2018

อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน (ต่อ) โดยเฉลี่ย....กี่วันจึงจะเก็บเงินจากการขายได้ Days Sales Outstanding =365/ Receivable Turnover เมื่อ Accounts Receivable Turnover = Sales/ Average Accounts Receivable 9/17/2018

Cost of Sales / (Average) Accounts Payable อัตราส่วนการหมุนของเจ้าหนี้การค้า (เมื่อซื้อเชื่อ หรือ ได้เครดิต) Accounts Payable Turnover = Cost of Sales / (Average) Accounts Payable Accounts Payable to Cost of Sales = Average Accounts Payable(100)/Cost of Sales 9/17/2018

อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน (ต่อ) โดยเฉลี่ย....กี่วันจึงจะชำระหนี้ Payable Payment Period =365/ Payable Turnover เมื่อ Payable Turnover = Cost of Sales/ Average Accounts Payable 9/17/2018

อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน (ต่อ) Required Financing Period =Days Receivable Outstanding + Days Inventory Held–Days Accounts Payable Outstanding เมื่อ Required Financing Period คือ จำนวนวันที่ต้องการในการจัดหาเงินทุน Days Receivable Outstanding คือ จำนวนวันลูกหนี้การค้า (ก่อนที่จะเก็บเงินได้) Days Inventory Held คือ จำนวนวันที่ถือสินค้าคงคลัง Days Accounts Payable Outstanding คือ จำนวนวันเจ้าหนี้การค้า (ก่อนที่จะจ่ายเงิน) 9/17/2018

(Debt Management Ratios) Capitalization Ratios Leverage Ratios 5. อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถ ในการบริหารหนี้สิน (ใช้ประโยชน์จากการสร้างหนี้) (Debt Management Ratios) Capitalization Ratios Leverage Ratios 9/17/2018

Financial Leverage = Assets / Shareholders’ Equity อัตราส่วนสินทรัพย์ ต่อส่วนของผู้เป็นเจ้าของ Assets to Equity Ratio of Financial Leverage = Assets / Shareholders’ Equity 9/17/2018

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ (ROE : Return on Equity) ROE = ROS x TATO x Financial Leverage เมื่อ ROE คือ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ ROS คือ กำไร / ขายสุทธิ TATO คือ ขายสุทธิ / สินทรัพย์รวม Financial Leverage คือ สินทรัพย์รวม / ส่วนของเจ้าของ 9/17/2018

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ (ROE : Return on Equity) ROE = Net Income / Shareholders’ Equity 9/17/2018

อัตราส่วนหนี้สินรูปอื่น ๆ Long Term Debt to Equity Ratio = Long Term Debt / Owners Equity Long Term Debt to Assets Ratio = Long Term Debt / Total Assets Long Term Debt to Capital Ratio = Long Term Debt / (LT Debt+ Owners Equity)* * LT Debt+ Owners Equity = Total Capital ทุนระยะยาว Total Liabilities to Assets = Total Liabilities / Total Assets 9/17/2018

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio) อัตราส่วนทุนหมุนเวียน เป็นอัตราส่วนระหว่าง สินทรัพย์หมุนเวียน (เงินสด สินค้าคงคลัง ลูกหนี้การค้า) กับ หนี้สินหมุนเวียน (หนี้สินระยะสั้นที่ถึงกำหนดชำระภายในรอบบัญชีต่อไป) Current Ratio = Current Assets / Current Liabilities เมื่อ Current Ratio คือ อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Assets คือ สินทรัพย์หมุนเวียน Current Liabilities คือ หนี้สินหมุนเวียน หรือ หนี้สินระยะสั้น 9/17/2018

อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio หรือ Acid Test) Quick Ratio = (Cash)/ Current Liabilities เมื่อ Quick Ratio คือ อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว Cash คือ เงินสด และสินทรัพย์เงินสด Current Liabilities คือ หนี้สินหมุนเวียน 9/17/2018

อัตราส่วนครอบคลุมค่าดอกเบี้ย EBIT Coverage (Interest Coverage Ratio ) EBIT Coverage = EBIT / Interest Expenses เมื่อ Interest Coverage Ratio คือ อัตราส่วนครอบคลุมค่าดอกเบี้ย EBIT คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี Earning Before Interest and Tax Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ยจ่าย 9/17/2018

อัตราส่วนตัวเงินที่ครอบคลุมค่าดอกเบี้ยจ่าย Cash flow Coverage Cash flow Coverage = EBIT+ Depreciation / Interest Expenses เมื่อ Cash flow Coverage คือ อัตราส่วนตัวเงินที่ครอบคลุมค่าดอกเบี้ย EBIT คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี Depreciation คือ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ (ไม่เป็นตัวเงิน) Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ยจ่าย 9/17/2018

อัตราส่วนตัวเงินที่ครอบคลุมการชำระหนี้คืน Debt-service Coverage Debt-service Coverage = EBIT/Interest Expenses+[Principal Payment(1-tax rate)] เมื่อ EBIT คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี Principal Payment คือ ต้นเงินที่ถึงกำหนดชำระคืน Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ยจ่าย 9/17/2018

6. อัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน 6. อัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน Sustainable Growth Rate 9/17/2018

อัตราการสะสมของผลกำไร อัตราเงินปันผลจ่าย Dividend Payout Ratio = Dividend Paid / Net Income อัตราการสะสมของผลกำไร Earning Retention=Net Income-Dividends/Net Income Earning Retention = 1 - Dividend Payout Ratio* * ย่อว่า DPO 9/17/2018

Sustainable Growth Rate : SGR SGR = ROS x TATO x Financial Leverage x Retention Ratio = Earning Retained / Owners’ Equity กำไรที่เหลือเก็บสะสม / ส่วนของผู้เป็นเจ้าของ SGR = ROE x (1– Dividend Payout Ratio) 9/17/2018

7 . อัตราส่วนของตลาด Market Ratios 9/17/2018

Earning per Share = Net Income / # shares outstd. กำไรต่อหุ้น EPS Earning per Share = Net Income / # shares outstd. ราคาหุ้นต่อกำไร P/E Ratio Price/Earnings = Market price per share / EPS & Price compare to many items…. 9/17/2018

เมื่อ DPS = Dividend per Share Dividend Yield= DPS/Market Price per Share เมื่อ DPS = Dividend per Share 9/17/2018

8 . อัตราส่วนผลตอบแทนและความเสี่ยง 8 . อัตราส่วนผลตอบแทนและความเสี่ยง Return Versus Risk Performance Ratios 9/17/2018

Spread = Return on Equity – Required ROE Spread & EVA Spread = Return on Equity – Required ROE EVA = Economic Value Added EVA = Invested Capital x (ROIC x WACC) เมื่อ ROIC = Return on Invested Capital WACC = Weighted Average Cost of Capital 9/17/2018

อัตราส่วนอื่น ๆ Other Ratios 9/17/2018

อัตราส่วนอื่น ๆ (other ratios) ปริมาณเงินฝาก ต่อสมาชิก 1 ราย (อาจคำนวณจากสมาชิกทั้งหมดหรือสมาชิกที่มีเงินฝากเท่านั้นก็ได้) ปริมาณเงินกู้ ต่อสมาชิก 1 ราย (อาจคำนวณจากสมาชิกทั้งหมด หรือสมาชิกที่มีเงินกู้เท่านั้น ก็ได้) ปริมาณการถือหุ้น ต่อสมาชิก 1 ราย ฯลฯ 9/17/2018

ข้อพึงระวังในการวิเคราะห์งบการเงิน มีหลายประการ เช่น งบการเงินเป็นข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้นไปแล้ว งบการเงินสร้างขึ้นจากวิธีการปฏิบัติที่อาจไม่เหมือนกัน หากใช้เปรียบเทียบกัน จะต้องเข้าใจข้อสมมติและวิธีปฏิบัติที่ใช้ด้วย เป็นข้อมูลทางการเงินเท่านั้น จึงไม่ครอบคลุมข้อมูลเชิงคุณภาพอื่น เช่น คุณภาพของบุคลากร ความทันสมัยของระบบงาน ฯลฯ การวิเคราะห์งบการเงินจึงไม่ใช่ผลทั้งหมด รายการที่เกิดขึ้นและเสร็จสิ้นไประหว่างงวด อาจไม่มีปรากฏในงบการเงิน (เช่น การกู้เงินและชำระคืนเสร็จสิ้นไปแล้ว) 9/17/2018

การประยุกต์ใช้อัตราส่วนทางการเงิน การใช้อัตราส่วนทางการเงินกับงบการเงินล่วงหน้า (pro-forma financial statements) การใช้อัตราส่วนทางการเงิน เพื่อการเฝ้าระวัง โดยการใช้ข้อมูลจากบัญชีแยกประเภท (หรืองบทดลอง) 9/17/2018

การวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบ Comparative Ratio Analysis เทียบกับข้อมูลในอดีต (ของตัวเอง) เทียบกับกิจการอื่น (บางกิจการ คู่แข่ง หรือ กิจการตัวอย่าง) เทียบกับกิจการอื่นในอุตสาหกรรม(ภาพรวม) 9/17/2018

บางเรื่องที่น่ารู้ เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่ และเรียกชื่อ 9/17/2018

อัตราส่วนการเงิน (Financial Ratios) 1) อัตราส่วนที่ใช้วัดสภาพคล่อง(liquidity ratios) 2) อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ (asset management ratios) 3) อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหารหนี้สิน (debt management ratios) 4) อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการหาผลตอบแทน (profitability ratios) 5) อัตราส่วนอื่น ๆ (other ratios) 9/17/2018

การวิเคราะห์งบการเงินด้วยเทคนิคอื่น การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน โดยวิธีการย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์งบดุล โดยวิธีการย่อส่วนตามแนวดิ่ง Common size การวิเคราะห์ตามแนวนอน : อัตราการเติบโต(Growth Rate) การวิเคราะห์โดยเทคนิคของดูปอง (Dupont technique) การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค CAMEL และ PEARLS 9/17/2018