training การฝึกอบรม
Meaning คือ การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ ความสามารถ ทัศนคติ ในทางที่ถูกที่ควร เพื่อช่วยให้การปฎิบัติงานและ ภาระหน้าที่ต่างๆในปัจจุบันและอนาคตให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การฝึกอบรมจะเน้นให้พนักงานสามารถทำงานที่ต้องการได้
สาเหตุของการฝึกอบรม ช่วยให้บุคคลต่างๆในหน่วยงานสามารถปฏิบัติงานตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ช่วยปรับปรุงความสามารถในการทำงานให้สูงขึ้น ช่วยลดเวลาในการตรวจสอบ แก้ไขงานให้น้อยลง ช่วยเพิ่มผลผลิต ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์การติดต่อประสานงาน และการให้ความร่วมมือระหว่างผู้เข้ารับการอบรม ช่วยลดความเสียหายต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานลงได้ในกรณีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ใหม่ๆ เพื่อให้พนังงานมีความรู้ ความสามารถ ลดอัตราการลาออก
การฝึกอบรมจะทำขึ้นเมื่อไร? หลังจากคัดเลือกบุคคล ควรจัดให้มีการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ก่อนเริ่มการปฏิบัติงานจริง เมื่อมีสถานการณ์ที่เป็นปัญหาต่อผลสำเร็จของงาน
Orientation การปฐมนิเทศ คือ กิจกรรมทางด้านการบริหารงานบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการพยายามแนะนำพนักงานใหม่ให้รู้จักหน่วยงาน และให้รู้จักในหน้าที่ที่ต้อง ทำ ตลอดจนผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน
วิธีการจัดการปฐมนิเทศ แบ่งเป็น 2 รูปแบบ การปฐมนิเทศอย่างไม่เป็นทางการ การปฐมนิเทศอย่างเป็นทางการ
การปฐมนิเทศอย่างไม่เป็นทางการ
การปฐมนิเทศอย่างเป็นทางการ
ความแตกต่างระหว่างการฝึกอบรมและการพัฒนา มุ่งเน้น งานปัจจุบัน งานปัจจุบันและอนาคต ขอบเขต พนักงานแต่ละคน กลุ่มงาน/องค์กร กรอบเวลา ระยะสั้น-กลาง ระยะยาว เป้าหมาย เพิ่มพูนทักษะที่ขาด เตรียมการสำหรับงานในอนาคต
ความจำเป็นของการปฐมนิเทศ องค์กรทุกแห่งย่อมเป็นสภาพที่ทำงานแห่งใหม่ของพนักงานและมักมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอตามสภาพเงื่อนไข ตลอดจนวิธีการ ทำงานของบริษัท นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ โครงสร้างและเนื้อหางาน สิ่งเหล่านี้มักจะแตกต่างกันไปในแต่ละสภาพแวดล้อม และเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆในทุกองค์กร
กระบวนการจัดการฝึกอบรม การพัฒนาและการจัดการฝึกอบรม การประเมินผล Reaction ทัศนคติที่มีต่อการฝึกอบรม ผู้สอน ทรัพยากร Learning การเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้หลังการฝึกอบรม Behavior การเปลี่ยนแปลงของระดับผลการทำงานหลังการฝึกอบรม Results การเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดขององค์กร เช่น อัตราการลาออก การประเมินความจำเป็น 3 ระดับ -องค์กร -งาน -คน
On-the job training การฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน วิธีการฝึกอบรม On-the job training การฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน
Off-the job training การฝึกอบรมนอกการทำงาน วิธีการฝึกอบรม Off-the job training การฝึกอบรมนอกการทำงาน การแสดงบทบาทสมมติ
การสอนแบบโปรแกรม
เกมส์การบริหาร
การฝึกอบรมในห้องเรียน แบบบรรยาย
การฝึกการรับรู้
การฝึกอบรมในห้องเรียน โดยการใช้ภาพยนตร์และโทรทัศน์เป็นเครื่องช่วยในการฝึกอบรม
การเลียนแบบของจริง
DEVELOPMENT การพัฒนา
TRAINING AND DEVELOPMENT การฝึกอบรมและพัฒนา กระบวนการที่จัดขึ้นเพื่อให้บุคคลได้เรียนรู้และ มีความชำนาญเพิ่มขึ้น มุ่งให้รู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพิ่มประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา และทัศนคติที่จะปรับปรุงงาน
ความหมาย Training หมายถึง กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ให้ความรู้และฝึกทักษะ ที่ต้องใช้สำหรับงานในหน้าที่ปัจจุบัน Development หมายถึง การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาและเติบโตขึ้น สำหรับอนาคต
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ TRAINING AND DEVELOPMENT top management support การสนับสนุนจากผู้บริหาร ต้องมีบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบให้มีการฝึกอบรมขึ้น commitment from specialist and generalist การยอมรับจากผู้ปฏิบัติงาน technological advances organization complexity ความซับซ้อนของโครงสร้างองค์กร learning principles กฏและหลักเกณฑ์ในการเรียนรู้ เช่น ระยะเวลาการอบรม อุปกรณ์ที่ใช้ฝึก เนื้อหาการเรียนรู้ ความถี่ ของการสอน วิธีการสอน คำนึงถึงความสามารถของผู้เรียน other human resource function เช่น ระบบการคัดเลือก
TRAINING AND DEVELOPMENT PROCESS determine Training and development needs วิเคราะห์ความต้องการในการ ฝึกอบรมของกลุ่มเป้าหมาย โดยดูได้จาก ข้อบกพร่อง หรือปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อบ่งชี้ถึงความ จำเป็นในการฝึกอบรม ตรวจสอบความต้องการ และความเป็นไปได้ 2. establish objective กำหนดวัตถุประสงค์การฝึกอบรม 3. select method เลือกวิธีการที่จะใช้ตามความเหมาะสมของเนื้อหา และผู้เข้าอบรม ซึ่งแบ่งเป็น ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ - การlecture classroom programs เหมาะกับการใช้อบรมคนจำนวนมาก เสีย ค่าใช้จ่ายต่ำ แต่มีข้อเสียคือ เป็นการสื่อสารทางเดียว และเป็นการเรียน ไม่ได้หมายความว่าผู้เรียนจะปฏิบัติจริง ได้
- การประชุม conference มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เหมาะจะใช้กับพนักงานที่มีความรู้ และผู้บริหารระดับกลางขึ้นไป, distance learning and video conference - การแสดงบทบาทสมมติ role playing เพื่อฝึกให้มีความพร้อมและปรับตัวให้ทันต่อ สถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น มีหลายวิธี เช่น business games, simulationการจำลองแบบ, vestibule training - การใช้กรณีศึกษา case study เหมาะกับเนื้อหาที่มีความซับซ้อนที่ต้องการดูตัวอย่าง เปรียบเทียบ เพื่อเพิ่มความ เข้าใจให้ดีขึ้น และเพิ่มความชำนาญในการตัดสินใจ
- การสาธิต demonstration เป็นการแสดงจากตัวอย่างจริง ใช้กับวิธีการทำงานบางอย่างที่ ไม่อาจสอนได้ด้วยการพูด ต้องดูวิธีการใช้เครื่องมือบางอย่าง อาจทำการสาธิตได้หลายทาง เช่น ทาง videotapes(behavior modeling) - การสัมมนา seminar ใช้ในการพัฒนาพนักงานที่มีความรู้ และผู้บริหาร เปิดโอกาสให้แสดง ความคิดเห็นได้เสรี - การฝึกงานในสถานการณ์จริง on the job training ใช้กับพนักงานใหม่ หรือ พนักงานระดับปฏิบัติการ เช่น in-basket training การฝึกให้ทำงานมีอุปกรณ์คล้ายที่ทำงานจริง มี ปัญหาต่างๆ ใส่ไว้ในตะกร้าแล้วหยิบขึ้นมาแก้ให้ได้ภายในเวลาที่กำหนด
TRAINING AND DEVELOPMENT PROCESS 4.implement program ดำเนินการฝึกอบรม 5.evaluate program ประเมินผลเพื่อให้ทราบว่าการฝึกอบรมได้ผลตามเป้าหมายอย่างไร และจะ ได้เป็นแนวทางให้ปรับปรุงวิธีฝึกอบรมในคราวต่อไป
การกำหนดสำหรับการฝึกฝน โดย การควบคุมการวิเคราะห์ - การจัดการองค์กร - หน้าที่งาน - บุคคล หลักเกณฑ์การกำหนดและปรับปรุงของการประเมินผลงาน - ปฎิกริยา - การรียนรู้ - พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง - ผลลัพองร์กร การเลือกสื่อการเรียนการสอน เลือกการออกแบบการประเมินผล ออกแบบการเรียนรู้สภาพแวลล้อมโดยการสำรวจ - การเรียนรู้บุคลิกภาพ - เรียนรู้ด้านทฤษฎี
การระบุหรือพัฒนาวิธีการฝึกฝน - วัตถุ อุปกรณ์ / รูปแบบ วิธีการ ควบคุมการฝึกฝน ควบคุมการประเมิณ และ ค่าใช้จ่ายในการฝึกฝน
CEREER DEVELOPMENT
Practitioner มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการและกระบวนการบริหารความก้าวหน้าในสายอาชีพ ดำเนินการตามกระบวนการความก้าวหน้าในสายอาชีพ รวมทั้งติดตามและประเมินผล จัดเตรียมฐานข้อมูล วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบกานพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ ติดตามผลการดำเนินการตามระบบบริหารความก้าวหน้าในสายอาชีพและให้ข้อมูลย้อนกลับ
Professional พัฒนาระบบและใช้เทคนิค ในการวางแผนพัฒนาในสายอาชีพ เพื่อให้บุคคลมรโอกาสก้าวหน้าพัฒนาเต็มศักยภาพได้ตรงความต้องการ ขององค์กร ให้คำปรึกษาแนะนำในการวางแผนและกำหนดวิธีการในการพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ สื่อสารสร้างการยอมรับและมีส่วนร่วมของพนักงานและผู้บริหารด้านการพัฒนาและก้าวหน้าในสายอาชีพ
Senior Professional เสนอกลยุทธ์ในการพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพสำหรับพนักงานและกลุ่มบุคคลที่องค์กรต้องระบบการวางแผนพัฒนาสายอาชีพ พิเศษตามวัตถุประสงค์ขององค์กร วางแผนออกแบบระบบในการพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและสอดคล้องกับความต้องการของ องค์กร เช่น Talant Management Succession Plan เป็นต้น และสามารถประสานกับระบบอื่นอย่างเหมาะสม ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้อื่นในการกำหนดเป้าหมายและวางแผนเพื่อพัฒนาความสามารถของตนเองทีมงานทั้งในระยะสั้นและยาว เสนอแนวความคิด และองค์ความรู้ในการพัฒนาสายอาชีพเป็นที่ยอมรับของชุมชนนักบริหารทรัพยากรบุคคล