แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเกษตรกร.
สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
แนวทางการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถานการณ์ของกองทุนชุมชน ความหลากหลาย กองทุนชุมชนในหมู่บ้านตำบล 1. กองทุนที่เกิดจากความร่วมมือของประชาชน ดำเนินการก่อตั้ง โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ เอกชนและประชาชน กองทุนที่เกิดจากการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐและเอกชน หรือ ภาคีการพัฒนาอื่น ๆ ผลที่เกิดขึ้น บางกองทุน ยังคงอยู่ บางกองทุนล้มหาย เงินทุนสูญหาย สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถานการณ์ของกองทุนชุมชน คณะกรรมการบริหารกองทุน มีหลายคณะ 2. คน 1 คน เป็นกรรมการหลายคณะ มีการบริหารจัดการแตกต่างกันไป ผลที่เกิดขึ้น เกิดการสับสนในวิธีการบริหารงาน ประชุมบ่อย ไม่มีเวลาทำงานหรือประกอบอาชีพ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถานการณ์ของกองทุนชุมชน 1 ครัวเรือน เป็นสมาชิกหลายกองทุน 3. ผลที่เกิดขึ้น กู้ทุกกองทุนที่เป็นสมาชิก ใช้เงินกู้ผิดวัตถุประสงค์ เกิดหนี้สินเพิ่มมากขึ้น สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน คืออะไร ? สถาบันการเงินของชุมชน ที่จัดตั้งขึ้น โดยมีการบูรณาการเชื่อมโยง กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงินต่างๆ ร่วมกันบริหารจัดการ เงินทุนในชุมชน เพื่อให้เกิดการใช้เงินทุน ในชุมชนอย่างคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน มีวัตถุประสงค์? เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน กลุ่ม องค์กร กองทุนการเงิน ให้เกิดประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการด้านการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากเงินทุนชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นแหล่งทุนและสวัสดิการชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน มีประโยชน์อย่างไร? ความเป็นเอกภาพของกองทุนในหมู่บ้าน ตำบล ถูกร่วมกันบริหารจัดการเข้าด้วยกัน ป้องกันการสูญหาย การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ (1 ครัวเรือน 1 สัญญา) กรณี ส่งเสริมการประกอบอาชีพ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ทำอย่างไร? 1. แพร่แนวคิด แนวทางการดำเนินงาน ผู้นำ กลุ่ม องค์กรการเงินชุมชน ภาคีการพัฒนา 2. สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลกองทุนชุมชน ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการ/วางแผนการจัดตั้งสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน (กองทุนต่าง ๆ ที่เข้าร่วม,สถานที่ดำเนินการ,การศึกษาดูงานจุดที่ประสบความสำเร็จ ฯลฯ) 3. สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ทำอย่างไร? 4. จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ประชุมประธานกลุ่มองค์กรกองทุนชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ ขอมติการจัดตั้ง เลือกคณะกรรมการบริหาร ร่างระเบียบข้อบังคับ การจัดทำกิจกรรมของสถาบันฯ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน รูปแบบเป็นอย่างไร? เงินทุน 1. มาจาก การลงหุ้นของกองทุนต่าง ๆในชุมชน การรับฝากจากสมาชิก เงินกู้จากสถาบันการเงิน(ธนาคาร) สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน รูปแบบเป็นอย่างไร? การรับฝากเงินจากสมาชิก จากสมาชิกที่เป็นกองทุนชุมชนและกลุ่มองค์กรเท่านั้น ไม่ควรรับฝากเงินเป็นรายบุคคล หรือบุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นสมาชิก กรณีรายบุคคลจะฝากเงินให้ฝากกับกองทุนหรือกลุ่มองค์กรที่สังกัด สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน รูปแบบเป็นอย่างไร? กรรมการ 2. มาจากประธาน หรือตัวแทนของแต่ละกองทุน มาจากผู้นำ ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน รูปแบบเป็นอย่างไร? สมาชิก 3. มาจากสมาชิกเป็นรายกลุ่ม(กองทุนชุมชน/กลุ่มองค์กร) ไม่ควรรับสมาชิกเป็นรายบุคคล กรณีรายบุคคลจะฝากเงินให้ฝากกับกองทุนหรือกลุ่มองค์กรที่สังกัด กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตจะต้องไม่ยุบเลิก หรือยกฐานะ แต่เป็นแกนนำในการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน รูปแบบเป็นอย่างไร? ระเบียบ 4. จัดทำระเบียบข้อบังคับสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ให้ครอบคลุมการดำเนินงานกองทุนทุกกองทุน (เป็นระเบียบแม่) สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ทำกิจกรรมอะไรได้บ้าง? กิจกรรมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท กิจกรรมประเภทการลงทุน หรือแสวงหารายได้ กิจกรรมประเภทสวัสดิการ กิจกรรมประเภทการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน รูปแบบเป็นอย่างไร? โดย...ดำเนินการในลักษณะ เป็นการสนับสนุนเงินทุนให้กลุ่มกองทุนต่าง ๆยืมเงินไปดำเนินกิจกรรม รับฝากเงินจากกลุ่มกองทุนต่าง ๆ ร่วมกันทำกิจกรรม ที่กลุ่มกองทุนต่าง ๆไม่สามารถดำเนินการได้ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ทำกิจกรรมอะไรได้บ้าง? กิจกรรมประเภทการลงทุน หรือ แสวงหารายได้ รับฝาก/ถอน กู้ยืมเงินทุน ศูนย์สาธิตการตลาด การรับซื้อผลผลิต ปั๊มน้ำมัน ธุรกิจชุมชน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ทำกิจกรรมอะไรได้บ้าง? กิจกรรมประเภทสวัสดิการ การจัดตั้งสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ การประกันภัย (รถยนต์ , มอเตอร์ไซด์, บุคคล) ทุนการศึกษา การรักษาพยาบาลฟรี การจัดตั้งกองทุนประกันความเสี่ยง สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ทำกิจกรรมอะไรได้บ้าง? กิจกรรมประเภทการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง การฝึกอบรม/สัมมนา คณะกรรมการบริหาร การฝึกอบรม/สัมมนา สมาชิกสถาบันการจัดการ- เงินทุนชุมชน การศึกษาดูงาน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน สถานที่ดำเนินการเป็นอย่างไร? อาคารที่ทำการชั่วคราว อาคารที่ทำการถาวร เจ้าหน้าที่/ลูกจ้าง ประจำสำนักงาน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จะพัฒนาอย่างไร? ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน การประชุมประจำเดือน 1. กำหนดวันประชุมที่ชัดเจน มีสาระสำคัญ มีความต่อเนื่อง สม่ำเสมอ บทบาทเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน สำหรับการเป็นพี่เลี้ยง สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จะพัฒนาอย่างไร? ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน จัดทำแผนการดำเนินงาน 2. แผนระยะปานกลาง 3-5 ปี แผนปฏิบัติการประจำปี แผนฯ เป็นเหมือนเข็มทิศในการทำงาน สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จะพัฒนาอย่างไร? ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน การจัดทำ “ข้อบังคับงบประมาณ ประจำปี” 3. ระบุงบประมาณรายรับ มาจากไหน จำนวนเท่าไร ระบุงบประมาณรายจ่าย ใช้จัดทำกิจกรรมอะไรบ้าง จำนวนเท่าไร เป็น สำคัญของความสำเร็จ หัวใจ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จะพัฒนาอย่างไร? ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน จัดทำกิจกรรม 4. ยึดแผนปฏิบัติการประจำปี และข้อบังคับงบประมาณ ประจำปี เป็นหลัก เริ่มจากกิจกรรม ง่ายๆ ไปหายาก ทำทีละกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง “กิจกรรม” เป็นหัวใจของความสำเร็จของสถาบันฯ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จะพัฒนาอย่างไร? ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน การแสวงหาความร่วมมือ 5. งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ วิชาการ บุคลากร เน้น คณะกรรมการบริหารสถาบันฯ จะต้องสามารถดำเนินการด้วยตัวเอง สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง มีอะไรบ้าง? ระดับพื้นฐาน 1. ทะเบียนสมาชิก คณะกรรมการบริหาร ระเบียบข้อบังคับ แผนการดำเนินงาน การประชุม การจัดทำบัญชี สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง มีอะไรบ้าง? ระดับพัฒนา 2. กิจกรรมประเภทลงทุน หรือ แสวงหารายได้ กิจกรรมประเภทสวัสดิการ กิจกรรมประเภทการพัฒนาและเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ตัวชี้วัดความเข้มแข็ง มีอะไรบ้าง? ระดับก้าวหน้า 3. สำนักงานชั่วคราว/ถาวร ข้อบังคับงบประมาณประจำปี การประสานความร่วมมือ หรือ ความช่วยเหลือ กับภาคีการพัฒนา พึ่งตนเองได้ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน Q&A สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

สวัสดี สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน