บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนา งานวิจัย สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โครงการพัฒนาการศึกษา จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2559 สำนักงาน กศน. จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ จำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 รอบที่ 2
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
ระบบรายงานข้อมูลตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม มีการดำเนินการการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี 2561 ในไตรมาส 1 ใน 3 ส่วน คือ ลักษณะสำคัญขององค์กร หมวด 1 การ นำองค์ และหมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร ซึ่งจากการประเมินและวิเคราะห์โอกาสการพัฒนาสามารถสรุปได้ดังนี้

พื้นที่ ๗๒๓ ตารางกิโลเมตร ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ ๗๒๓ ตารางกิโลเมตร อำเภอบรบือ ประชากร 107,641 คน ชาย 53,761 คน หญิง 53,898 คน เขตปกครอง 15 ตำบล 209 หมู่บ้าน 24,529 หลังคาเรือน 17 รพ.สต. บุคลากรในสังกัด 114 แบ่งเป็นข้าราชการ 58 คน ลูกจ้างประจำ 1 คน พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 27 คน ลูกจ้างชั่วคราว 24 คน อาสาสมัครสาธารณสุข 2,157 คน

บริบทองค์กรที่ต้องการพัฒนา หมวด 1 การนำองค์การ หมวด5 เน้นบุคลากร ประเด็นในการพัฒนา 1.เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคลไม่ชัดเจน 2.ความแตกต่างระหว่างวัยวุฒิ คุณวุฒิ ประสบการณ์ของบุคลากร 3.บุคลากรบางคนใช้งานช่องทางการสื่อสารไม่เป็น 4.ความแม่นยำของข้อมูลในระบบ HDC 5.การเข้าถึงข้อมูลและการประชาสัมพันธ์ให้ครบ 6.การนำผลการประเมินไปใช้พัฒนายังไม่ครอบคลุม 7.สังคมมีความคาดหวังสูง 8.ความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานนอกเวลา   ประเด็นในการพัฒนา 1.ระบบ FTE ทำให้ไม่สามารถจัดคนตามกรอบได้ 2.บุคลากรมีภาระงานมาก 3.บุคลากรอบรมไม่ครบตามที่ระบุไว้ในแผนพัฒนาบุคลากร 4.ระบบการรักษาความปลอดภัยอาคารสถานที่ยังไม่ได้มาตรฐาน 5.ระเบียบราชการไม่เอื้อต่อการจัดระบบสวัสดิการในองค์การ

สรุปปัญหา อุปสรรค์และข้อเสนอแนะ 1.ผู้บริหารองค์กรต้องกำหนดทิศทางองค์กรให้ชัดเจนเพื่อให้บุคลากรปฎิบัติงานได้ตามเป้าประสงค์ขององค์กร 2.การขับเคลื่อน PMQA ต้องปฏิบัติเป็นประจำ ให้เป็นส่วนหนึ่งของงานประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3.สมาชิกองค์กรต้องมีส่วนร่วมในการทำ PMQA และร่วมกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์องค์กร เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน กระบวนการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

PMQAบรบือ

ขอบคุณค่ะ