การดำเนินงานประกันคุณภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ณ 31 พฤษภาคม
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานประกันคุณภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แผนการดำเนินงาน ที่ วัน เดือน ปี รายการ ผู้ปฏิบัติ 1. สิงหาคม 2551 สิงหาคม 2551 จังหวัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่อำเภอ จังหวัด / กลุ่มจังหวัด 2. ต้นกันยายน 2551 Workshop เขียน SAR จังหวัด/สถานศึกษา 3. 11-12 กันยายน 2551 ประชุมชี้แจงระดับภาค สถาบันภาค 4. ปลายกันยายน - ตุลาคม 2551 ติดตามตรวจสอบการจัดระบบเอกสาร จังหวัด /ภาค /หน่วย ศน. 5. 15 ตุลาคม 2551 กศน.อำเภอส่ง SAR ถึงสำนักงานจังหวัด สถานศึกษา 6. 20 ตุลาคม 2551 สำนักงาน กศน.จังหวัด ส่ง สำนักงาน กศน. สำนักงาน กศน.จังหวัด 7. ตุลาคม – กันยายน 2551 ติดตามตรวจสอบความพร้อมรับการประเมินภายนอก ทุกหน่วย

ศูนย์ กศน.อำเภอจะต้องวางแผนดำเนินการอย่างไร 1.1 จะต้องจัดทำ SAR ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2551 ขณะนี้มีความก้าวหน้าอย่างไร(จังหวัด-อำเภอ) - ประชุมให้ความรู้ 9 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้ (ภายในสิงหาคม 2551) - ประชุมปฏิบัติการเพื่อเขียนรายงาน SAR

แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเอง การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ประกอบด้วยส่วนต่างๆดังนี้ ส่วนปก คำนำ สารบัญ ส่วนเนื้อหา บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 วิธีดำเนินการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา บทที่ 3 ผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกโรงเรียน บทที่ 4 แนวทางหรือทิศทางในการพัฒนาในอนาคต ภาคผนวก คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา คำรับรองจากผู้บริหารสถานศึกษา/กรรมการสถานศึกษา

ส่วนปก ชื่ออาจจะเป็น “รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา กศน. อำเภอ…………ประจำปีงบประมาณ 2551” หรือ “รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกโรงเรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ…..ประจำปีงบประมาณ 2551” คำนำ การเขียนคำนำให้ ข้อสังเกต “การลงวันเดือนปี ในการทำรายงานประเมินตนเอง ควรลงหลังจากสิ้นปีงบประมาณแล้วประมาณ 1 เดือน”

3 ส่วนเนื้อหา 3.1 บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วย 3.1.1 ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา - ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ นโยบาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ - วิเคราะห์ SWOT - ประวัติสถานศึกษา พอสังเขป - รายงานผลการจัดกิจกรรม เป้าหมายทั้งปี และ ผลการดำเนินงานทุกกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ - ข้อมูลครูและบุคลากร ประกอบด้วย ชื่อ – สกุล เพศ วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง อายุการทำงานเฉลี่ย - สัดส่วนจำนวนผู้เรียน ต่อครู

- ภาระงานสอนของครู - หลักสูตรที่เปิดสอน - ข้อมูลศูนย์การเรียนชุมชน ประกอบด้วย ชื่อ ศูนย์การเรียน ชื่อครูผู้รับผิดชอบ สถานที่ตั้ง - ทรัพยากรและงบประมาณ ประกอบด้วย อาคารสถานที่ อุปกรณ์อำนวยความสะดวก วัสดุ ครุภัณฑ์ งบประมาณ รวมทั้งงบบริจาค - ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน รวมทั้งสถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ - บทบาทของชุมชนต่อสถานศึกษา - เกียรติยศชื่อเสียง ผลงานดีเด่นของสถานศึกษาและสิ่งที่สถานศึกษาภาคภูมิใจ - โครงสร้างของสถานศึกษา

3.1.2 ข้อมูลพื้นฐานชุมชน พอสังเขป 3.1.3 แนวคิดการประกันคุณภาพ ประกอบด้วย - ระบบควบคุมคุณภาพภายในสถานศึกษา - กลไกควบคุมการประกันคุณภาพสถานศึกษา - การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน

บทที่ 2 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา บทที่ 2 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา วิธีการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประกอบด้วย วัตถุประสงค์การประเมิน ขอบเขตการประเมิน กรอบการประเมิน การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการพัฒนาคุณภาพ การสร้างความตระหนัก ความพยายาม ระดับความพึงพอใจ  

บทที่ 3 ผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกโรงเรียน บทที่ 3 ผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกโรงเรียน สรุปผลการดำเนินงานเป็นรายมาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนผู้รับบริการเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา ครอบครัว ชุมชนและสังคม สรุปผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน ที่ 1 โดยทุกตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดีมาก..ผลปรากฏว่ามาตรฐานที่ 1 ( ) บรรลุมาตรฐาน ผลการประเมินได้ 4.00……….. อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก มาตรฐานตัวบ่งชี้ เกณฑ์ที่ ศบอ. กำหนด ผลการ ประเมิน ตนเองร้อย ละเฉลี่ย ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 1.1 100 / 1.2 1.3 1.4 สรุปผลการประเมิน ระดับคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 4.00

สรุปผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน ที่ 1 โดยทุกตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดีมาก สรุปผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน ที่ 1 โดยทุกตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดีมาก..ผลปรากฏว่ามาตรฐานที่ 1 ( ) บรรลุมาตรฐาน ผลการประเมินได้ 4.00……….. อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก ( ) ไม่บรรลุมาตรฐาน สรุปได้ว่า ผู้เรียนผู้รับบริการเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา ครอบครัว ชุมชนและสังคม ตามมาตรฐานที่ 1 ข้อมูลความตระหนัก...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ข้อมูลความพยายาม......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ 1 การกำหนดเกณฑ์ที่ ศบอ.กำหนด ถ้าเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม ควรกำหนดเกณฑ์ 100 ผลการประเมิน 100 2 เกณฑ์ที่ ศบอ.กำหนด ไม่ควรต่ำกว่า 75 ผลการประเมินต้องมากกว่า 75 การพิจารณาว่าบรรลุหรือไม่บรรลุพิจารณาจากเกณฑ์ที่ ศบอ.กำหนด และผลการประเมินตนเองร้อยละเท่านั้น

บทที่ 4 แนวทางหรือทิศทางในการพัฒนาในอนาคต สรุปรายมาตรฐานว่า อยู่ในระดับใด และควรจะพัฒนาปรับปรุงในมาตรฐานนั้นอย่างไร ( สรุปจุดเด่น และจุดควรพัฒนาจากการประเมินรายมาตรฐาน)   หมายเหตุ สิ่งที่เป็นจุดควรพัฒนา ต้องปรากฏอยู่ในแผนปฏิบัติการในปีต่อไป ด้วย ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม รายงานการประเมินตนเองต้องได้รับอนุมัติจาก ผอ.ศบอ. (ลงลายมือชื่อให้เรียบร้อย บนส่วนใดส่วนหนึ่งของเอกสาร ) รายงานการประเมินตนเอง ต้องมีความถูกต้องเชื่อถือได้ สะท้อนผลการปฏิบัติให้เห็นเด่นชัด เป็นรุปธรรม จุดเด่น และจุดควรพัฒนา ควรเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด เป็นรูปธรรม ควรมีการรายงานการประเมินตนเองต่อต้นสังกัด ทราบเป็นระยะ (พร้อมหนังสือส่ง SAR เก็บไว้เป็นหลักฐาน ) ที่สำคัญ เตรียมคนตอบคำถาม ในเรื่องการเขียน SAR แผนทุกแผน และการประกันคุณภาพ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเขียนรายงานการประเมินตนเอง และคณะกรรมการทำแผนปฏิบัติการ และแผนทุกแผน

1.2 การเตรียมความพร้อม เอกสารหลักฐาน สถานที่ บุคลากร

1. ข้อมูลผู้เรียน/ผู้รับบริการ ข้อมูลด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ ข้อมูลการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ข้อมูลการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ข้อมูลการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โครงการ เป้าหมาย/ผล ข้อมูลส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ข้อมูลการศึกษาตามอัธยาศัย ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สถิติการใช้แหล่งเรียนรู้

การศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษา การได้มา มีคณะกรรมการ มีคำรับรอง กรรมการสถานศึกษา กรรมการจัดทำหลักสูตร กรรมการบริหารหลักสูตร มีหลักฐานการประชุม ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร กรรมการสถานศึกษา  คุณภาพของครู/ผู้สอน วุฒิตรงสาขา วิทยฐานะ คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ คุณภาพของครู วิทยฐานะ คุณธรรม พัฒนาบุคลากร ไม่น้อยกว่า 20 ชม./ปี ผู้เรียน/ผู้รับบริการ แบบสอบถามความต้องการของผู้รับบริการ แบบติดตามผลของนักศึกษา

การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ แบบสำรวจความพึงพอใจ ทำเวทีประชาคม จัดทำหลักสูตรท้องถิ่น การศึกษาตามอัธยาศัย หลักฐานทำเนียบแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เสียงตามสาย วิทยุชุมชน 2.ด้านกระบวนการ - กระบวนการจัดการเรียนรู้ -การบริหารจัดการศึกษา กระบวนการ แผนการจัดการเรียนการสอน แผนรายภาค แผนรายสัปดาห์ ตารางการพบกลุ่ม หลักฐานการวัดและประเมินผล แผนนิเทศ คำสั่ง การบริหารจัดการ แผนบริหารกลยุทธ์ แผนระดับต่างๆ ตั้ง เป้า-ผล ข้อมูลสอดรับซึ่งกันและกันของแผน แต่ละแผน สื่อ หลักสูตร ผลงานผู้เรียน (โครงงาน) แผนการนิเทศ ประเมินผล PDCA การบริหารจัดการเรื่องระบบ IT

การบริหารงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า 3. ด้านปัจจัย ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหาร การจัดการ เครือข่าย MOU

สรุปแนวทางการรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมการประเมินคุณภาพภายนอกการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ - การรับรองเอกสารหลักฐานจากผู้มีอำนาจอนุมัติ/อนุญาต หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรอบรมค่ายทักษะชีวิต แผนพัฒนา/กลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน คู่มือการดำเนินงาน คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานในทุกกิจกรรม กรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา กรรมการบริหารลักสูตรและวิชาการ

การประเมินผลโครงการ บันทึกการประชุม ความสมบูรณ์ของเนื้อหาหลักสูตรท้องถิ่น การวิจัยในชั้นเรียน แผนการจัดการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาที่สอนตามเป้าหมาย การมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น กรรมการสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ รายงานการประเมินหลักสูตร สถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ หลักฐานการกำกับติดตาม หน้างบการพัฒนาบุคลากร การประกันคุณภาพ เป็นไปตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ เป็นหน้าที่ของสถานศึกษาต้องทำอย่างต่อเนื่อง การเขียนรายงานประเมินตนเอง

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 1. ทบทวนความรู้ความเข้าใจในการประกันคุณภาพภายใน - ประชุมชี้แจง สัมมนา - จัดทำเอกสารแนวทางการเตรียมการ หน่วยงานสนับสนุน สำนักงาน กศน.จังหวัด และ กลุ่มสำนักงานจังหวัด สถาบันภาค ฯ

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. จัดทำเอกสาร แนวทางการเตรียมการประเมินภายในและรับการประเมินภายนอก ตอนที่ 1 ความจำเป็น / ความสำคัญของการประเมินภายในและการประเมิน ภายนอก ตอนที่ 2 - มาตรฐาน /ตัวบ่งชี้ 9 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้ของ กศน. และ 5 มาตรฐานของ สมศ.

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. จัดทำเอกสาร แนวทางการเตรียมการประเมินภายในและรับการประเมินภายนอก (ต่อ) ตอนที่ 3 - การจัดรวบรวมหลักฐาน เอกสาร  แผนพัฒนาคุณภาพ  แผนปฏิบัติการประจำปี  การเขียน SAR  เอกสารอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. จัดทำเอกสาร แนวทางการเตรียมการประเมินภายในและรับการประเมินภายนอก (ต่อ) การเตรียมบุคลากร /จัดทีมผู้รับผิดชอบ - การแต่งตั้งคณะทำงาน - การเตรียมความพร้อมของบุคลากร สร้างความรู้ความเข้าใจ/ การแต่งกาย/อื่น ๆ

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. จัดทำเอกสาร แนวทางการเตรียมการประเมินภายในและรับการประเมินภายนอก(ต่อ) - การเตรียมนักศึกษา และชุมชน - การจัดทำการนำเสนอ (Presentation)  เนื้อหา  รูปแบบ/วิธีการ  ผู้นำเสนอ - เทคนิคสำคัญสู่ความสำเร็จ

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด การนิเทศติดตามความก้าวหน้า - ชี้แนะ เป็นพี่เลี้ยงของสถานศึกษา - จัดตั้งคณะกรรมการนิเทศติดตามทุกระดับ - ตรวจติดตาม (บทบาทสมมติในการเป็นกรรมการประเมิน ภายนอก/ซ้อมใหญ่) หน่วยงานสนับสนุน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงาน กศน.จังหวัด

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณ บุคลากร - ตั้งทีมช่วยเหลือกรณีวิกฤติ - จัดหา/ให้ยืมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น หน่วยงานสนับสนุน สำนักงาน กศน.จังหวัด

2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด 2. การสนับสนุนของหน่วยงาน กพ. ศน. สถาบันภาค ฯ สำนักงานจังหวัด การสนับสนุนการจัดทำสื่อการนำเสนอ (Presentation) - จัดทีมช่วยทำ ส่งเสริม สนับสนุน - ตรวจสอบให้คำปรึกษา แนะนำ หน่วยงานสนับสนุน สำนักงาน กศน.จังหวัด

Thank You !