ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
โรงเรียนกับชุมชน.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน

การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การขับเคลื่อน ครอบครัวแกนนำคุณธรรม
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.บุญรักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/04/cons2016.pdf

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงตอบรับเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ “เพื่อสืบสานพระราชปณิธาน และเพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวไทยทั้งปวง”

พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน ทัศนคติที่ถูกต้อง พื้นฐานชีวิต (= อุปนิสัย) ที่มั่นคงเข้มแข็ง

พระราชกระแสฯ ด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ ๑. นักเรียน ๑.๑ “ครูต้องสอนให้เด็กนักเรียนมีน้ำใจ เช่น คนเรียนเก่งช่วยติวเพื่อนที่เรียนล้าหลัง มิใช่สอนให้เด็กคิดแต่จะแข่งขัน (Compete) กับเพื่อน เพื่อให้คนเก่งได้ลำดับดี ๆ เช่น สอบได้ที่หนึ่งของชั้น แต่ต้องให้เด็กแข่งขันกับตนเอง” (๑๑ มิ.ย.๕๕) ๑.๒ “ครูไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางเทคโนโลยีมาก แต่ต้องมุ่งปลูกฝังความดี ให้นักเรียนชั้นต้น ต้องอบรมบ่มนิสัยให้เป็นพลเมืองดี เด็กโตก็ต้องทำเช่นกัน” (๖ มิ.ย.๕๕) http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/04/cons2016.pdf

พระราชกระแสฯ ด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ ๑. นักเรียน (ต่อ) ๑.๓ “เราต้องฝึกหัดให้นักเรียนรู้จักทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะมากขึ้น จะได้มีความสามัคคีรู้จักดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ความรู้และ ประสบการณ์แก่กัน” (๕ ก.ค.๕๕) ๑.๔ “ทำเป็นตัวอย่างให้นักเรียนเป็นคนดี นักเรียนรักครู ครูรักนักเรียน” (๙ ก.ค.๕๕) http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/04/cons2016.pdf

พระราชกระแสฯ ด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ ๒. ครู ๒.๑ “เรื่องครูมีความสำคัญไม่น้อยกว่านักเรียน ปัญหาหนึ่ง คือ การขาดครู เพราะจำนวนไม่พอ และครูย้ายบ่อย ดังนั้น ก่อนคัดเลือกเด็กที่จะพัฒนาต้องพัฒนาครูก่อน ให้พร้อมที่จะสอนเด็กให้ได้ผล ตามที่ต้องการ จึงจะต้องคัดเลือกครูและพัฒนาครู ต้องตั้งฐานะในสังคมของครูให้เหมาะสม และ ปลูกจิตสำนึกโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีการคือ การให้ทุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมี ความรู้ทางวิชาการในสาขาที่เหมาะสมที่จะสอน ต้องอบรมวิธีการสอนให้มีประสิทธิภาพ มีความเป็นครู ที่แท้จริง คือ มีความรักความเมตตาต่อเด็ก ควรเป็นครูท้องที่เพื่อจะได้มีความผูกพันและคิดที่จะพัฒนา ท้องถิ่นที่เกิดของตน ไม่คิดย้ายไปย้ายมา” (๑๑ มิ.ย.๕๕) ๒.๒ “ต้องปรับปรุงครู...ครูจะอายุ ๔๐-๕๐ ปี ก็ต้องเรียนใหม่ ต้องปฏิวัติครูอย่างจริงจัง” (๖ มิ.ย.๕๕) http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/04/cons2016.pdf

พระราชกระแสฯ ด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ ๒. ครู ๒.๓ “ปัญหาปัจจุบันคือ ครูมุ่งเขียนงานวิทยานิพนธ์ เขียนตำราส่งผู้บริหารเพื่อให้ได้ ตำแหน่งและเงินเดือนสูงขึ้น แล้วบางทีก็ย้ายไปที่ใหม่ ส่วนครูที่มุ่งการสอนหนังสือ กลับไม่ได้อะไรตอบแทน ระบบไม่ยุติธรรม เราต้องเปลี่ยนระเบียบตรงจุดนี้ การสอนหนังสือต้องถือว่าเป็นความดีความชอบ หากคนใดสอนดี ซึ่งส่วนมาก คือ มีคุณภาพและปริมาณ ต้องมี reward” (๕ ก.ค.๕๕) ๒.๔ “ครูบางส่วนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไม่หมดแต่เก็บไว้บางส่วน หากนักเรียนต้องการรู้ทั้งหมดวิชา ก็ต้องเสียเงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูท่านนั้นจะเป็นการสอน ในโรงเรียนหรือส่วนตัวก็ตาม” (๕ ก.ค.๕๕) http://www.ect.go.th/th/wp-content/uploads/2016/04/cons2016.pdf

พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๙ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตและนักศึกษาวิทยาลัยวิชาการศึกษา วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๓ “...ผู้ที่เป็นครูอาจารย์นั้น ใช่ว่าจะมีแต่ความรู้ในทางวิชาการ และในทางการสอน เท่านั้นก็หาไม่ จะต้องรู้จักอบรมเด็กทั้งในด้านศีลธรรมจรรยาและวัฒนธรรม รวมทั้งให้มีความสำนึกรับผิดชอบในหน้าที่ และในฐานะที่จะเป็นพลเมืองดี ของชาติต่อไปข้างหน้า การให้ความรู้หรือที่เรียกว่าการสอนนั้น ต่างกับการอบรม การสอนคือการให้ความรู้แก่ผู้เรียน ส่วนการอบรมเป็นการฝึกจิตใจของผู้เรียน ให้ซึมซาบติดเป็นนิสัย ขอให้ท่านทั้งหลายจงอย่าสอนแต่อย่างเดียว ให้อบรม ให้ได้รับความรู้ดังกล่าวมาแล้วด้วย...”

ความรู้กับคุณธรรมจะต้องเป็นเรื่องเดียวกัน “ให้มีความวิตกไปว่า เด็กชั้นหลังจะห่างเหินจากศาสนาจนเลยกลายเป็น คนไม่มีธรรมในใจมากขึ้น... คนที่ไม่มีธรรมเป็นเครื่องดำเนินตาม คงจะหันไปทางทุจริตโดยมาก ถ้ารู้น้อยก็โกงไม่ใคร่คล่อง ฤาโกงไม่สนิท ถ้ารู้มากก็โกงคล่องขึ้นและโกงพิสดารมากขึ้น การที่หัดให้รู้อ่านอักขรวิธี ไม่เป็นเครื่องฝึกหัดให้คนดีแลคนชั่ว เป็นแต่ได้วิธีสำหรับจะเรียนความดีความชั่วได้คล่องขึ้น (พระราชหัตถเลขา ล้นเกล้า ร.๕ พ.ศ.๒๔๔๑)

พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ 9 “ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสื่อมลงนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนแต่ละคนเป็นสำคัญ ผลการศึกษาอบรมในวันนี้จะเป็นเครื่องกำหนดอนาคต ของชาติในวันข้างหน้า...”

หน้าที่ พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ พระเจ้าอยู่หัวทรงยึดมั่น ในหน้าที่หน้าที่ของพระเจ้าอยู่หัว ๑. ในฐานะพระเจ้าแผ่นดิน ต้องดูแลราษฎร ๒. ในฐานะทรงเป็นพลเมืองดี เห็นอะไรที่จะทำเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ (วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา, ธ.ค. ๒๕๕๗)

“การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”' ซึ่งความหมายที่แท้จริงคือ การลดเวลาที่นักเรียน เรียนแบบ Passive คือ เป็นผู้รับอย่างเดียวลง แล้วเพิ่มเวลาที่นักเรียนเรียนแบบ Active ให้มากขึ้นคือ เป็นผู้ปฏิบัติเอง เรียนรู้เอง ให้มากยิ่งขึ้นซึ่งเกิดขึ้นได้ ทั้งในห้องเรียน และนอกห้องเรียน

แนวคิด Growth Mindsetและแนวทางการขยายผลสู่สถานศึกษา นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

แนวคิดปฏิรูปการศึกษา ด้วยการน้อมนำแนวพระราชดำริฯ “ทำให้เด็กรักครูและครูรักเด็ก” มาใช้

ปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนใหม่ด้วย “WHY” สอนคนให้ติดตั้งคำถามฝันอยากเห็นภาพเด็กไทยตื่นนอน แล้วอยากไปโรงเรียน ได้เรียนรู้อย่างสนุกและมีความสุข ไม่มีความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในทุกมิติ

พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและครู ศ.John Hattie ที่พบว่าไม่มีเรื่องใด ในวงการศึกษาที่ถูกออกแบบหรือทำขึ้นมา แล้วมีผลร้ายกับเด็ก เพียงแต่ว่าไม่มีเรื่องใด ที่ทำแล้วคุ้มค่าและเกิดผลลัพธ์มากที่สุดเท่ากับ การ “พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและครู”

ดังพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “ทำให้เด็กรักครู และทำให้ครูรักเด็ก” ที่ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนการสอน และคุณภาพการศึกษามากที่สุด

วันนี้ผมอยากเห็นเด็กไทย ตื่นเช้าขึ้นมาแล้วอยากไปโรงเรียน ไปเรียนแล้วสนุก ไปเจอคุณครู ที่สอนแล้วเขามีความสุข ครูรู้จักเด็ก ครูใหญ่ก็รู้จักเด็ก

เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กมีความสุข ได้อย่างไร จะทำให้ เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กมีความสุข ได้อย่างไร

๑ Active learning ลักษณะของ Active Learning (อ้างอิงจาก :ไชยยศ เรืองสุวรรณ) เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฎิสัมพันธ์ร่วมกัน และร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน ผู้เรียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทํางาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิด เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทักษะการคิดขั้นสูง เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลักการสู่การสร้างความคิดรวบยอดความคิดรวบยอด ผู้สอนจะเป็นผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน

Active Learning ทำไมต้อง

เทคนิค การตั้งคำถาม วิธีสอน Active learning

พี่ช่วยน้อง ผองเพื่อนช่วยกัน ๒ พี่ช่วยน้อง ผองเพื่อนช่วยกัน

๓ การทำงานเป็นกลุ่ม

ลักษณะสำคัญของกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ลักษณะสำคัญของกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 1. Active Learning 2. พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน 3. การทำงานเป็นกลุ่ม

การติดตามการดำเนินการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบนี้หรือไม่ 1. กิจกรรมการเรียนแบบ Active Learning 2. กิจกรรมการเรียนแบบ “พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน” 3. กิจกรรมการเรียนแบบ “การทำงานเป็นกลุ่ม”

3. คุณภาพนักเรียนที่สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง 1. นักเรียนรักครู 2. ครูรักนักเรียน 3. คุณภาพนักเรียนที่สอดคล้องกับ - การประเมินPISA - การพัฒนาประเทศไทย 4.0