การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปี การศึกษา ๒๕๕๗ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
(Reading Test: RT) การประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การบริหารการทดสอบ O-NET
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
กลุ่มเกษตรกร.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
อ. อิสรี ไพเราะ (อ.ต๊ะ) MB
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-4
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การดำเนินงานต่อไป.
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โปรแกรมระบบบริหารจัดการสถานศึกษา
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กลุ่มเป้าหมาย ประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ –๔ ทุกคน ทุกสังกัด โดย ภาคเรียนที่ 1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ 2 ประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑ – ๔  

จุดประสงค์ของการประเมิน การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559 (ต่อ) จุดประสงค์ของการประเมิน เพื่อตอบโจทย์ของ รัฐบาลและนโยบายเร่งด่วน ปีการศึกษา 2558- 60 เด็กที่จบชั้น ป.1 ต้องอ่านออกเขียนได้ เพื่อให้ได้ข้อมูลผลประเมินการอ่านเขียนของนักเรียน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดใน การดำเนินงานพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ เพื่อวิเคราะห์ผลการประเมินเป็นสารสนเทศที่นำไปใช้วางแผน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 ได้อย่างเหมาะสม เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นที่สูงขึ้นให้มีความ เข้มแข็งและยั่งยืน

การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559 (ต่อ) คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ กำหนดการสอบ (สอบพร้อมกันทั่วประเทศ) ภาคเรียนที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2559 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ตารางสอบ 08.30 – 11.30 น.   พักกลางวัน 13.00 – 13.30 น. 13.30 – 14.30 น. ฉบับที่ 1 อ่านออกเสียง (ภาคปฏิบัติ) ฉบับที่ 2 อ่านรู้เรื่อง (แบบทดสอบ) ฉบับที่ 3 การเขียน

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป.1 ภาคเรียนที่ 1   สมรรถนะ องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 10 คำ 3 ประโยค (12 คำ) 1 ข้อความ (20 คำ 5 ประโยค) ปฏิบัติจริง 10 15 25 1 : 1 1 : 1 / 1 : 1 อ่านรู้เรื่อง 6 ประโยค 4 ข้อความ 4 คำถาม จับคู่ จับคู่/เลือกตอบ เลือกตอบ 12 8 1 : 2 เขียนได้ 5 ประโยค 5 ข้อความ เขียน (ตามคำบอก) เขียนประโยคจากคำที่กำหนด เขียนอิสระ(เขียนบรรยายภาพ) 5 2 : 1

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป.1 ภาคเรียนที่ 2 สมรรถนะ  องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน   อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 6 ประโยค (36 คำ) 1 ข้อความ (40 คำ 8 ประโยค) ปฏิบัติจริง 10 12 18 2 : 1 1 : 1 /6 : 1 1 : 1/4 : 1  อ่านรู้เรื่อง 10 คำ 5 กลุ่มคำ  6 ประโยค 6 คำถาม 4 ข้อความ 4 คำถาม จับคู่ เลือกตอบ 8 2 : 1/1 : 1 1 : 2 เขียนได้ 5 ประโยค 5 ข้อความ เขียนตามคำบอก เขียนประโยค จากคำที่กำหนด เขียนอิสระ บรรยายภาพ

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป. 2   สมรรถนะ องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 7 ประโยค / 56 คำ 1 ข้อความ /40 คำ ปฏิบัติจริง 10 14 16 2:1 1:1/8:1 1:6/4:1 อ่านรู้เรื่อง 15 คำ 7 ประโยค 8 ข้อความ จับคู่ (15 ข้อ) เลือกตอบ (7 ข้อ) เลือกตอบ(8 ข้อ) 15 7 8 1:1 เขียนได้ 5 ประโยค เขียนอิสระ 1 เรื่อง เขียนตามคำบอก เขียนแต่งประโยค เขียนอิสระ(เขียนเรื่องจากภาพ) 1:2 1:10

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป. 3   สมรรถนะ องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 8 ประโยค 32 คำ 1 ข้อความ 35 คำ ปฏิบัติจริง 10 16 14 2:1 1:1/4:1 1:7/5:1 อ่านรู้เรื่อง 10 คำ 10 ประโยค 5 ข้อความ จับคู่/เลือกตอบ เลือกตอบ(10 ข้อ) 1:1 เขียนได้ คำ ประโยค 5 ประโยค 1 เรื่อง เขียนตามคำบอก เขียนแต่งประโยค เขียนอิสระ (เขียนเรื่องจากภาพ) 1:2 1:10

กรอบโครงสร้างแบบทดสอบอ่านออกเขียนได้ ป. 4   สมรรถนะ องค์ ประกอบ จำนวนคำ/ จำนวนข้อ รูปแบบ การประเมิน คะแนนเต็ม เกณฑ์การให้คะแนน อ่านออก คำ ประโยค ข้อความ 20 คำ 4 ประโยค /24 คำ 1 ข้อความ /30 คำ ปฏิบัติจริง 5 12 13 4:1 1:1/3:1 1:7/5:1    อ่านรู้เรื่อง 5 คำ/5 ข้อ 5 ประโยค 10 ข้อความ จับคู่ /เลือกตอบ เลือกตอบ(5 ข้อ) เลือกตอบ(10 ข้อ) 10 1:1 1:2 เขียนได้ คำ ประโยค 20 คำ/5 ประโยค เรียงความ 1 ข้อความ ย่อความ 1 เรื่อง เขียนตามคำบอก เขียนแต่งประโยค เขียนเรียงความ เขียนย่อความ 2:1 1:10

การใช้ข้อสอบอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา 2558 การใช้ข้อสอบอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา 2558 ที่ผ่านมา คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ปีการศึกษา 2558 สพฐ. ส่งข้อสอบให้เพื่อให้ใช้ในการประเมิน ส่งในรูปแบบ PDF และให้เขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการแบบเดียวกับการจัดสอบแบบทดสอบมาตรฐาน พบว่า หลายเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการที่เป็นมาตรฐาน จัดพิมพ์ข้อสอบ โดยเขตพื้นที่ แต่มีบางเขต ส่งข้อสอบพร้องเฉลย ส่งขึ้นเว็บ *** การดำเนินการจัดส่งข้อมูลไม่มีการตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลมีความผิดพลาดมาก โรงเรียนเดียวกันมีรหัสโรงเรียนเท่าจำนวนนักเรียน ตามข้อมูลที่ส่งมาบางโรงเรียนมีเด็กอ่านได้เกือบร้อยละ 100 แต่เมื่อ สพฐ.ไปทดลองสอบเด็กพบว่ามีอ่านไม่ออก มาก ***

แนวการดำเนินการประเมินการอ่านออกเขียนได้ ปีการศึกษา 2559 คู่มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๗ การเตรียมการก่อนการสอบ 1. การจัดห้องสอบ ให้จัดห้องสอบตามปกติของการจัดสอบปลายภาคเรียนของโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานชุดต่างๆ ตามความจำเป็น เช่น (กรรมการรับ – ส่งแบบทดสอบ คณะกรรมการกำกับการสอบ ห้องสอบละ ๒ คน สลับกรรมการอย่างน้อย ๑ คน จากต่างโรงเรียน (สำหรับแบบทดสอบฉบับที่ ๑ การอ่านออกเสียง ให้พิจารณาแต่งตั้งกรรมการให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนเพื่อให้สอบเสร็จภายในครึ่งวัน กรรมการตรวจกระดาษคำตอบเขียนตอบ กรรมการบันทึกข้อมูลผลการประเมิน ฯลฯ)

การเตรียมการก่อนการสอบ (ต่อ) 3. จัดทำสำเนาแบบทดสอบและเอกสารประกอบ สพฐ. ส่งให้ก่อนสอบ 1 สัปดาห์ เขตพื้นที่การศึกษาต้องดำเนินการจัดเตรียมทำสำเนาข้อสอบสำหรับดำเนินการสอบ ดังนี้ แบบทดสอบฉบับที่ ๑ การอ่านออกเสียง แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ แบบทดสอบสำหรับนักเรียนให้สำเนา ๑ ชุด ต่อ ๑ ห้องสอบ แบบทดสอบสำหรับกรรมการให้คะแนน ให้จัดทำสำเนาแบบทดสอบให้พอดีกับจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ แบบทดสอบฉบับที่ ๒ การอ่านรู้เรื่อง ให้จัดทำสำเนาแบบทดสอบให้พอดีกับจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ แบบทดสอบฉบับที่ ๓ การเขียนแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ แบบทดสอบสำหรับนักเรียน ให้สำเนาพอดีกับจำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ แบบทดสอบสำหรับกรรมการ ให้สำเนา ๑ ชุด ต่อ ๑ ห้องสอบ แบบกรอกคะแนนนักเรียนให้จัดทำสำเนา ๑ ชุด ต่อ ๑ ห้องสอบ

๔. ในการเก็บรักษาแบบทดสอบ หลังจากจัดพิมพ์หรือสำเนาแบบทดสอบแล้ว ให้บรรจุแบบทดสอบลงซองตามห้องสอบปิดผนึกให้มิดชิดเก็บรักษาไว้ในลักษณะเอกสารลับทางราชการ และส่งมอบให้สนามสอบก่อนสอบ 1 วัน การดำเนินการสอบ กรรมการดำเนินการสอบรับแบบทดสอบก่อนการสอบไม่เกิน ๓๐ นาที และให้ศึกษาและทำความเข้าใจวิธีการสอบและเกณฑ์การให้คะแนนการอ่านออกเสียงร่วมกัน กรรมการดำเนินการสอบเปิดซองแบบทดสอบ และตรวจสอบจำนวนแบบทดสอบในแต่ละซองให้ครบตามจำนวนนักเรียนในแต่ละห้องสอบและให้ครบทั้ง ๓ ฉบับ โดยตรวจนับก่อนการสอบในแต่ละวิชา

แนวทางการดำเนินการสอบการอ่านออกเขียนได้ แบบทดสอบฉบับที่ 1 การอ่านออกเสียง ให้นักเรียนสอบอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียนอ่านทีละ 1 คน กรรมการเขียนชื่อ สกุล โรงเรียน ห้องที่ เลขที่ ของนักเรียน ลงในแบบทดสอบสำหรับกรรมการบันทึกคะแนน กรรมการแจกบทอ่านสำหรับนักเรียนให้นักเรียน พร้อมทั้งอธิบายคำชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจ ก่อนลงมืออ่านพร้อมกับจับเวลา (คนละไม่เกิน 10 นาที ) กรรมการใส่เครื่องหมาย  ในช่องคำที่นักเรียนอ่านถูก และใส่เครื่องหมาย × ในช่องคำที่นักเรียนอ่านผิด เมื่อหมดเวลาแล้ว นักเรียนยังอ่านไม่เสร็จ ให้นักเรียนหยุดอ่านทันที กรรมการดำเนินการสอบตรวจสอบความถูกต้องของคำที่นักเรียนอ่านทันที แล้วกรอกข้อมูลลงแบบบันทึกคะแนนอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ให้นักเรียนคนถัดไปเข้ามาสอบอ่านต่อไป

แนวทางการดำเนินการสอบการอ่านออกเขียนได้ (ต่อ) แบบทดสอบฉบับที่ 2 การอ่านรู้เรื่อง กรรมการแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนเขียนข้อมูลส่วนบุคคล (ชื่อ สกุล โรงเรียน ห้องที่ เลขที่ ลงในแบบทดสอบ กรรมการอ่านคำชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจวิธีการทำข้อสอบในแต่ละตอนก่อนลงมือสอบ (เฉพาะชั้นประถมศึกษาปีที่ 1) สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 – 4 ให้นักเรียนอ่านคำชี้แจงเอง เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำข้อสอบแล้ว ให้นักเรียนลงมือทำในแบบทดสอบ กรรมการจับเวลา กรรมการบอกเวลา 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเวลาสอบผ่านไปแล้วครึ่งหนึ่งของเวลาสอบ ครั้งที่ 2 เมื่อเหลือเวลาสอบ 5 นาทีสุดท้าย เมื่อหมดเวลา ให้นักเรียนวางแบบทดสอบไว้บนโต๊ะ กรรมการเก็บรวบรวมแบบทดสอบเรียงตามลำดับเลขที่สอบ แล้วนำบรรจุใส่ซองและนำส่งกรรมการตรวจให้คะแนนต่อไป

แนวทางการดำเนินการสอบการอ่านออกเขียนได้ (ต่อ) แบบทดสอบฉบับที่ ๓ การเขียน กรรมการแจกแบบทดสอบให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนเขียนข้อมูลส่วนบุคคล (ชื่อ สกุล โรงเรียนห้องที่ เลขที่) ลงในแบบทดสอบ กรรมการอ่านคำชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจวิธีการทำข้อสอบในแต่ละตอนก่อนลงมือสอบ เริ่มลงมือสอบ ตอนที่ 1 การเขียนตามคำบอก ให้กรรมการอ่านคำที่กำหนดไว้ในแบบทดสอบ ให้นักเรียนเขียนพร้อมกัน โดยแต่ละคำให้กรรมการอ่านซ้ำ 3 ครั้ง โดยให้มีระยะห่างของการอ่าน 10-15 วินาทีต่อครั้ง ให้เวลานักเรียนเขียนแต่ละคำ ไม่เกินคำละ 1 นาที เมื่อสอบตอนที่ 1 เสร็จแล้ว ให้นักเรียนลงมือสอบตอนที่ 2 และตอนที่ 3 เริ่มจับเวลาสอบ กรรมการบอกเวลา 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเวลาสอบผ่านไปแล้วครึ่งหนึ่งของเวลาสอบ ครั้งที่ 2 เมื่อเหลือเวลาสอบ 5 นาทีสุดท้าย เมื่อหมดเวลา ให้นักเรียนวางแบบทดสอบบนโต๊ะ กรรมการเก็บรวบรวมแบบทดสอบเรียงตามลำดับเลขที่สอบ แล้วนำบรรจุใส่ซองและนำส่งกรรมการตรวจให้คะแนนต่อไป

การดำเนินการหลังการสอบ กรรมการรวบรวมแบบทดสอบนำส่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อตรวจให้คะแนนต่อไป กรรมการตรวจให้คะแนน นำแบบทดสอบฉบับที่ ๒ และ ฉบับที่ ๓ มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ การให้คะแนน และกรอกคะแนนที่ได้ลงแบบบันทึกคะแนนอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน เขตพื้นที่การศึกษาบันทึกคะแนนตามแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเขียนได้ลงในไฟล์ excel พร้อมตรวจสอบข้อมูลส่งสำนักทดสอบทางการศึกษาทางระบบ EPCC (ข้อความส่วนตัว) กำหนดส่งข้อมูล ภาคเรียนที่ 1 ภายในวันที่ 2 ตุลาคม 2559 ภาคเรียนที่ 2 ภายในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 สำนักทดสอบทางการศึกษาจะดำเนินวิเคราะห์ และส่งผลการประเมินให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ภายในวันที่ ๒๘ ตุลาคม 2559 ภาคเรียนที่ ๒ ภายในวันที่ 7 เมษายน 2560

ข้อควรระวังในการกรอกข้อมูล นักเรียนที่ขาดสอบไม่ต้องกรอกข้อมูล กรณีนักเรียนทำได้ 0 คะแนนในบางตอน ให้กรอกเลข 0 เท่านั้น ห้ามกรอกเครื่องหมายอื่นหรือเว้นว่างไว้ การให้คะแนนนักเรียนให้ยึดตามเกณฑ์ในคู่มือเท่านั้น ห้ามให้คะแนนนอกเหนือจากที่คู่มือกำหนดเช่น บางข้อคะแนนเต็ม 2 และมีเกณฑ์ให้คะแนนเป็น 0, 1, 2 แต่มีบางท่านให้คะแนน 1.5 ซึ่งไม่มีในเกณฑ์ที่กำหนด ถ้าเกิดกรณีดังกล่าวส่วนกลางจะถือว่าข้อมูลเกิดความคลาดเคลื่อน และตัด ข้อมูลดังกล่าวออกจากการประมวลผลภาพรวม หลังจากกรอกข้อมูลคะแนนสอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ดำเนินการตรวจทานการกรอกคะแนนอีกครั้ง