สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางและการพัฒนา Cyber Education
Advertisements

อินเดีย : มุมมองด้านการศึกษาที่เป็นความต้องการของสังคมไทย
Warehouse and Material Handling
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
บทนำ
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(Instructional Media)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Dr. Montri Chulavatnatol
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
Health Promotion & Environmental Health
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรการสอน
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
กฎหมายการศึกษาไทย.
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
การจัดการประชุมที่มีประสิทธิผล
สรุปรายงานการติดตามผลโครงการสะเต็มอบรมครูผ่าน ETV และ DLTV (ระยะที่ 1)
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
มีจำนวน 1 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
การปฏิรูปการศึกษา การบริหารราชการ ในภูมิภาค.
PRE 103 Production Technology
การแก้ปัญหา.
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
กิจกรรมที่ 9 การสร้างตัวแปร ใน Scratch.
การเขียนรายงานการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
มีจำนวน 8 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
รายงานผลการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม๒๕๕๗)
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
แนวทางการจัดทำและการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการ สพฐ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘ สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘

อบรมผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อเป็นผู้นำทางวิชาการด้าน สะเต็มศึกษา จำนวน ๑๑๕ โรง อบรมครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๑ และช่วงชั้นที่ ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๓ อบรมครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๔ ประโยชน์ที่ได้ ผู้อบรมได้รับความรู้ แนวคิด เพื่อนำไปสู่การเรียนที่ เข้าใจง่ายขึ้น บูรณาการการสอน พัฒนาการเรียนการสอน สร้างสื่อการเรียนการสอน เกิดแรงจูงใจในการทำงาน แบบใหม่ มีทักษะการทำงานเป็นทีม ทักษะการนำเสนอ

ข้อเสนอแนะที่ได้จากที่อบรม การทดลองทำงานกลุ่มไม่ควรมีสมาชิกมาก เพิ่มระยะเวลาในการอบรมมากขึ้น วิทยากรนำเสนอแบบใหม่ ๆ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองควรให้ผู้อบรมได้ใช้ต่อไป อบรมอย่างต่อเนื่อง อบรมแต่ละชั้นเรียน เพิ่มเนื้อหาในกลุ่มสาระวิชาอื่น ๆ ติดตามผลและประเมินผล

หลักสูตรที่ต้องการให้จัดอบรม การผลิตสื่อ CAI สะเต็มระดับปฐมวัย การเขียนแผน/ออกแบบ กิจกรรมบุรณาการ การวัดและประเมินผลจากกิจกรรม หลักสูตรการสร้างสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี เทคนิคการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมอัจฉริยะภาพทางวิทย์-คณิต การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙ สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙

ประชุมชี้แจงผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช ประชุมชี้แจงผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช. จำนวน ๑๑๘ โรง การพัฒนา ครูวิทย์ คณิต เทคโน ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๑ ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๒ ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนผู้ช่วยครูและครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๓ ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนผู้ช่วยครูและครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๔ อบรมด้านคอมพิวเตอร์ (โปรแกรม SCRATCH) ครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา

ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถนำไปใช้ในและพัฒนาการเรียน การสอน การวัดประเมินผลนักเรียน เกิดแรงจูงใจ มีมุมมองใหม่ ๆ การขยายผลให้ครูผู้สอน นำไป/คิดต่อยอด ในกิจกรรม เกิดกระบวนการวางแผน มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วางแผนค่ายสะเต็มได้ คิดสร้างสรรค์ผลงาน แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ขยายผลและเผยแพร่ได้จริง

ข้อเสนอแนะที่ได้จากที่อบรม อบรมครูต้นแบบให้เข้มขึ้น บูรณาการข้ามกลุ่มสาระ อบรมผู้บริหารโรงเรียนร่วมด้วย จัดค่ายสะเต็มอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์สะเต็มศึกษาของครูผู้นำ ให้ครูกับนักเรียนได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ควรมีตัวอย่างกิจกรรมสะเต็มที่ได้รวบรวมไว้เพื่อเป็นตัวอย่าง

หลักสูตรที่ต้องการให้จัดอบรม นวัตกรรมและสื่อการสอน อบรมวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ๔ mat ออกแบบการจัดการเรียนรู้กิจกรรมสะเต็มสึกษา วัดประเมินผลตามสภาพจริง โครงงานแบบนวัตกรรมเน้นอุปกรณ์ การสร้าง Animation ด้วยโปรแกรมต่าง ๆ โปรแกรมเชิงวิศวกรรม การเขียนวงจรหุ่นยนต์ การผลิตสื่อการสอนที่มีอยู่ในท้องถิ่น

การประชุมเพื่อติดตามผลและการให้ความคิดเห็นต่อการพัฒนา

การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน ผู้บริหารโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช. ครูผู้สอนโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช. นักเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช.

แนวทางการขับเคลื่อนสะเต็มที่จะดำเนินการต่อไป การตั้งศูนย์สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน Stem Private school (SPS) เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนสื่อและการดูแลจากศูนย์ชาติต่อไป การพัฒนาครูเพื่อให้เป็น Stem teacher ไปสู่การประเมินครูผู้นำของ สช. ที่จะเป็น Logo trainer E2 Stem เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน การวิจัยในชั้นเรียน อบรมนักเรียนผู้ช่วยครู วิทยาศาสตร์พื้นฐาน การประกาศให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนเครือข่าย Stem education ในสังกัด สช.

แนวทางการขับเคลื่อนสะเต็มที่จะดำเนินการต่อไป (ต่อ) ประกาศชื่อ รร. เป็นศูนย์สะเต็มศึกษา พัฒนาครูแกนนำ คัดเลือกครูผู้นำของ สช. สร้างนักเรียนให้ผลิต Stem Project โดยใช้สื่อ Electronic และ Apication

นิยาม “สะเต็มศึกษา” คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษาในสถานศึกษา สะเต็มศึกษา เป็นแนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชื่อมโยงและแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑

คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ได้กำหนดขั้นตอนของกิจกรรมของการเรียนรู้ ๖ ขั้นตอนในรูปแบบของสะเต็มศึกษา ขั้นตอนที่ ๑ ระบุปัญหาในชีวิตจริง/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ขั้นตอนที่ ๒ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ฃั้นตอนที่ ๓ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Science+Math & technology) ขั้นตอนที่ ๔ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Engineering) ขั้นตอนที่ ๕ ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง (Engineering) ขั้นตอนที่ ๖ นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการพัฒนานวัตกรรม

นโยบายระดับชาติ กำหนดให้การพัฒนาสะเต็มศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ (Stem Education as the National Agenda) เพื่อพัฒนาคนไทยมีทักษะด้านสะเต็มขั้นพื้นฐาน เป็นกำลังคนที่มีคุณภาพและศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม กำหนดเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาสะเต็มศึกษาให้เป็นการเตรียมกำลังคนที่มีคุณภาพของประเทศไทย และการสร้างสังคมไทยให้มีวิธีคิด วิถีชีวิตแบบวิทยาศาสตร์ ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ประเทศ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการศึกษาจากการทดสอบความรู้/ความจำ มาเป็นการศึกษาเชิงผลลัพธ์ในทุกระดับการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงอุดมศึกษา

นโยบายระดับชาติ (ต่อ) ๔. กำหนดให้มีคณะกรรมการสะเต็มศึกษาแห่งชาติ ที่จะรับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาสะเต็มศึกษา มีการจัดทำแผนการปฏิรูป หรือ Roadmap การพัฒนาสะเต็มศึกษา และมีการกำหนดงบประมาณสนับสนุน แผนปฏิบัติงาน และระยะเวลาที่ชัดเจน เพื่อให้ภาพการปรับเปลี่ยนและขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาของประเทศมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ