งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
พระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 กองทุนพัฒนา ฝีมือแรงงาน 1 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

2 พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
19/05/62 จุดประสงค์ : เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานมากยิ่งขึ้น โดย 1. ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้กับลูกจ้างของตน 2. ให้สิทธิและประโยชน์ในการยกเว้นภาษี จำนวนร้อยละร้อย ของค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน 3. กำหนดให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป ต้องส่งเงินสบทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ยกเว้น สถานประกอบกิจการที่ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง ครบร้อยละ 50 ของจำนวนลูกจ้างทั้งหมด ไม่ต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุน 4. ให้เงินกู้ยืมแก่นายจ้าง/ลูกจ้าง เพื่อนำไปฝึกอบรมฝีมือแรงงาน หรือทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 5. ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

3 กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสำหรับ ใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรา 28 บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุน เพื่อให้กู้ยืมเป็นค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน หรือการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ แรงงาน 3 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

4 กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ภารกิจ ให้กู้ยืมเงิน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน“ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้แรงงานมีผลิตภาพสูงขึ้น เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

5 ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนและการให้กู้ยืมเงิน กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
การดำเนินการ ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนและการให้กู้ยืมเงิน กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 5 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

6 การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน การให้กู้ยืมเงิน
งบประมาณปี พ.ศ. 2561 การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน การให้กู้ยืมเงิน จำนวน 15 ล้านบาท จำนวน 70 ล้านบาท 6 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

7 การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 7 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

8 19/05/62 ความเป็นมา พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ มาตรา 28 (3) บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับ การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกำหนด กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

9 19/05/62 ความเป็นมา ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน และช่วยเหลือหรืออุดหนุน การดำเนินการของศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2560 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ การพิจารณาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ลงวันที่ 19 กันยายน 2560 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

10 ผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
19/05/62 ผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 3 เรื่อง ผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ 5 เรื่อง ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ ตามม. 26/4(2) 1 เรื่อง ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง 1 เรื่อง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 1 เรื่อง 10 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

11 กรมพัฒนาฝีมือรงงาน ผู้ประกอบกิจการ ศูนย์ประเมินฯกลาง
กรมฯ ส่งไปทดสอบ อุดหนุนค่าทดสอบ ส่งเงินค่าทดสอบเข้ากองทุน อุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่ง ส่งเงินสมทบเข้ากองทุน อุดหนุน 10% ทดสอบ 100 คน อุนดหนุน 10,000 บาท ผู้ดำเนินการทดสอบ อุดหนุนเป็นค่าดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน พัฒนาฝีมือแรงงานเกิน 70% อุดหนุน 200 บาทต่อคน กรมพัฒนาฝีมือรงงาน ผู้ประกอบกิจการ ศูนย์ประเมินฯกลาง ศูนย์ประเมินฯ ม.26/4(2) ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน อุดหนุนสาขาระดับละ 10,000 บาท อุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการรับรองความรู้ความสามารถ ส่งเงินค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน อุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่ง ฝึกอบรมหลักสูตรนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี อุดหนุน ไม่เกินปีละ 100,000 บาท จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ อุดหนุน 1,000 บาทต่อคน ไม่เกินปีละ 100,000 บาท 11 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

12 12 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

13 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
19/05/62 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 1 อุดหนุนแก่ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 24 ซึ่งดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และมีผู้ผ่านการทดสอบในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป ให้เงินอุดหนุนปีละ 10,000 บาทต่อผู้ผ่านการทดสอบ ทุก 100 คน ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามีจำนวนตั้งแต่ 75 คนขึ้นไป ให้ปัดเป็น 100 คน 1. ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ซึ่งดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนปีละ 10,000 บาทต่อผู้ผ่านการทดสอบทุก 100 คน ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามีจำนวนตั้งแต่ 75 คนขึ้นไป ให้เงินอุดหนุนอีก 10,000 บาท ประกาศข้อ 4 13 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

14 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 4 (ลว. 9 มิ.ย. 60) √ ปีละ 10,000 บาท ต่อผู้ผ่านการทดสอบทุก 100 คน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาต ตามมาตรา 24 ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ มีผู้ผ่าน การทดสอบ 100 คนขึ้นไป (ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามี 75 คนขึ้นไป ให้ปัดเป็น 100 คน) นำจำนวนผู้ผ่านการทดสอบ ในปีที่ผ่านมา ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 ปี พ.ศ. 2559 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

15 ตัวอย่าง ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ยื่นคำขอรับ จำนวน 200 คน การช่วยเหลือหรืออุดหนุน มีผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 175 คน จำนวน 20,000 บาท ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 1 ม.ค.59 31 ธ.ค.59 1 ม.ค.60 30 ก.ย.60 ปี พ.ศ. 2561 31 มี.ค.61 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

16 จำนวนผู้ผ่านการทดสอบ (คน) จำนวนเงินอุดหนุนที่ได้รับ (บาท)
คำอธิบาย ปี พ.ศ (ม.ค. 59 – 31 ธ.ค. 59) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 200 คน มีผู้ผ่านการทดสอบฯ จำนวน 175 คน ปี พ.ศ (1 ม.ค. 60 – 30 ก.ย. 60) ยื่นคำขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 20,000 บาท 100 คนแรก ได้รับเงิน 10,000 บาท 75 คนถัดมา ปัดเป็น 100 คน ได้รับเงินอุดหนุนอีก 10,000 บาท ตัวอย่าง จำนวนผู้ผ่านการทดสอบ (คน) จำนวนเงินอุดหนุนที่ได้รับ (บาท) 10,000 20,000 30,000 40,000 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

17 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
19/05/62 2 อุดหนุนเป็นค่าทดสอบแก่ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 24 ซึ่งดำเนินการทดสอบให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานส่งไปทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพที่จำเป็นต้องให้การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้มีผู้ประกอบอาชีพที่มีทักษะฝีมือได้มาตรฐานเพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงาน หรือเป็นสาขาอาชีพที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ เครื่องมืออุปกรณ์หรือเทคโนโลยีเฉพาะด้าน ประกาศข้อ 5 สาขาอาชีพที่จำเป็นต้องให้การส่งเสริมหรือสนับสนุน กรมพัฒนาฝีมือแรงงานไม่สามารถดำเนินการทดสอบได้ 1. สาขาช่างเครื่องประดับ (ประดับอัญมนี) 2. สาขาช่างเครื่องประดับ (รูปพรรณ) 3. สาขาช่างเจียระไนพลอย 4. สาขาช่างหล่อเครื่องประดับ 5. สาขาช่างตกแต่งเครื่องประดับ 6. สาขาช่างฝังอัญมณีบนเครื่องประดับ 2. ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ซึ่งดำเนินการทดสอบให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่งไปทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเป็นค่าทดสอบ 17 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

18 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 5 (ลว. 9 มิ.ย. 60) √ เป็นค่าทดสอบตามที่ผู้ดำเนินการทดสอบกำหนดต่อจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ 1 คน (ไม่เกินอัตราค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดอัตราค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน) หน่วยงานของกรมฯ ส่งผู้เข้ารับ การทดสอบ ไปทดสอบกับศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ศูนย์ทดสอบฯดำเนินการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ให้แก่ผู้เข้ารับ การทดสอบ ศูนย์ทดสอบฯ รายงานผล การทดสอบ ให้หน่วยงานของกรมฯ เมื่อดำเนินการทดสอบแล้วเสร็จยื่นขอรับเงินอุดหนุน ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 ปี พ.ศ. 2560 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

19 ตัวอย่าง ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมฯ ส่งไปทดสอบสาขาช่างเจียระไนพลอย ระดับ 1 จำนวน 10 คน (ค่าทดสอบคนละ 1,500 บาท) ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 1 ม.ค. 60 30 ก.ย. 60 31 ธ.ค. 60 31 มี.ค. 61 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน จำนวน 15,000 บาท (100 คน x 1,500) กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

20 19/05/62 ผู้ประกอบกิจการ 3 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานภายในเวลาที่กำหนดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรา 29 วรรคสองครบครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนดในปีถัดมา ให้เงินอุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง ประกาศข้อ 6 3. ผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนภายในเวลาที่กำหนดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนดในปีถัดมา ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 29 วรรคสอง ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับ การทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรอง ความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ 20 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

21 ผู้ประกอบกิจการ 19/05/62 การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 6 (ลว. 9 มิ.ย.60) √ ร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่งเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานไม่ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนด ส่งเงินสมทบ เข้ากองทุนฯ ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่ส่งเข้ากองทุน ในปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2558 ภายในมี.ค. 2559 ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 กรณีต่อไปนี้ไม่เข้าหลักเกณฑ์การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 1. ส่งเงินสมทบเข้ากองทุน ประจำปี พ.ศ หลังวันที่ 31 มีนาคม 2559 2. ปี พ.ศ มีลูกจ้างไม่ถึง 100 คน ไม่อยู่ในข่ายบังคับเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน 3.. ปี พ.ศ ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างไม่ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

22 ตัวอย่าง ปี 2558 ปี พ.ศ. 2560 1 ม.ค.58 31 ธ.ค.58 1 ม.ค.59 30 ก.ย.60 ปี พ.ศ. 2559 31 ธ.ค.59 1 ม.ค.60 ปี พ.ศ ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างไม่ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนด จำนวน 50 คน ส่งเงินสมทบของปี พ.ศ. 2558 ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในเดือนมีนาคม 2559) จำนวน 54,000 บาท (50 คน X 1,080 บาท) ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้ลูกจ้าง ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ยื่นคำขอรับเงิน ช่วยเหลือหรือ อุดหนุน (1 ม.ค.60 – 30 ก.ย.60) จำนวน 5,400 บาท (54,000 x 10%) ยื่นแบบ สท.2 ประจำปี พ.ศ. 2558 และส่งเงินสมทบ วันที่ 20 มี.ค. 59 ยื่นแบบ สท.2 ประจำปี พ.ศ พัฒนาฝีมือแรงงานครบตามสัดส่วน ปี พ.ศ. 2558 ปี 2561 31 มี.ค.61 สิทธิขอรับเงิน ช่วยเหลือหรือ อุดหนุนเกิดขึ้น ในปีใด ให้ยื่นคำขอรับ เงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปี ถัดไป กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

23 19/05/62 ผู้ประกอบกิจการ 4 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 29 วรรคสอง ในปีที่ผ่านมา ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด ให้เงินอุดหนุน 200 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน ประกาศข้อ 7 4. นำผลการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฝึกอบรม+ทดสอบ+ประเมินความรู้ความสามารถ) ปี พ.ศ รวมกัน ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 นำมาขอรับเงินอุดหนุน ในปี พ.ศ (เพิ่มเติมใหม่) ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 29 วรรคสอง ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับ การทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรอง ความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ 23 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

24 19/05/62 ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 7 (ลว. 9 มิ.ย.60) √ จำนวน 200 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง (ฝึกอบรม+ทดสอบ+ประเมินความรู้ความสามารถ) 1. ยื่นประเมินเงินสมทบกองทุนฯ ประจำปี พ.ศ. 2560 2. สรุปจำนวนลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนา ฝีมือแรงงาน ในปี พ.ศ ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 (ไม่ซ้ำคน) นำมาขอรับเงินอุดหนุน จำนวน บาทต่อคน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 200 บาทต่อคน ลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงาน ในปี 2560 ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 (ไม่ซ้ำคน) ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

25 ตัวอย่าง ปี พ.ศ ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้แก่ลูกจ้าง จำนวน 720 คน ส่วนเกินกว่า ร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด จำนวน 20 คน(ฝึกอบรม +ทดสอบ+ประเมินความรู้ความสามารถ) ปี พ.ศ นำจำนวนลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนา ฝีมือแรงงาน ในปี พ.ศ ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ของลูกจ้างทั้งหมด (ไม่ซ้ำคน) ยื่นขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 4,000 บาท (20 คน X 200 บาท) ยื่นแบบ สท.2 ปี พ.ศ. 2560 พัฒนาฝีมือแรงงานเกินกว่าร้อยละ 70 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 30 ก.ย.61 ปี พ.ศ. 2562 31 ธ.ค.61 31 มี.ค.62 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปี ใด ให้ยื่นคำขอรับเงิน ช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายใน วันที่ 31 มีนาคมของปี ถัดไป กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

26 ตัวอย่าง คำอธิบาย คำอธิบาย
ในปี พ.ศ บริษัท A มีลูกจ้าง 1,000 คน ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างจำนวน 720 คน ลูกจ้าง 1,000 คน ร้อยละ 70 เท่ากับ 700 คน ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงาน ในปีพ.ศ จำนวน 720 คน ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 คือ ตั้งแต่คนที่ เท่ากับ 20 คน (ไม่ซ้ำคน) 1. ในปี พ.ศ บริษัท A ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง จำนวน 720 คน ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 เท่ากับ 20 คน 2. ในปี พ.ศ บริษัท A ยื่นแบบประเมินเงินสมทบกองทุนตพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ. 2560 3. ในปี พ.ศ บริษัท A ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ส่วนที่พัฒนาฝีมือแรงงานเกินกว่า ร้อยละ 70 จำนวน 20 คน คนละ 200 บาท เป็นเงินจำนวน 4,000 บาท (20 คน x 200 บาท) กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

27 19/05/62 ผู้ประกอบกิจการ 5 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ของตนตามมาตรา 26 และได้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ ในการทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ให้เงินอุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท ให้ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองตั้งแต่ ปี พ.ศ เป็นต้นไป 5. ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน และได้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ในการทดสอบ ให้แก่ลูกจ้างของตน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท ประกาศข้อ 8 27 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

28 ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ
การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 8 (ลว. 9 มิ.ย.60) √ เป็นค่าจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพและนำไปทดสอบ ให้แก่ลูกจ้างของตน สาขาระดับละ 10,000 บาท ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 นำมาตรฐานฯ ที่ได้การรับรองไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน สาขาระดับละ 10,000 บาท ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงาน ที่ได้รับการรับรองตั้งแต่ปี พ.ศ เป็นต้นไป ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 ปี พ.ศ. 2560 มาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรอง ให้พิจารณาวันที่ตามหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน (แบบ รมฐ.3)ที่ออกให้ ณ วันที่ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

29 ตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 และนำมาตรฐานฯ ที่ได้รับการรับรองไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรือ อุดหนุนในแต่ละสาขา ระดับละ 10,000 บาท ภายใน 30 ก.ย. 60 ปี พ.ศ. 2560 1 ม.ค.60 30 ก.ย.60 31 ธ.ค.60 31 มี.ค.61 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เกิดขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรือ อุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

30 ตัวอย่าง ตัวอย่าง คำอธิบาย
1. ในปี พ.ศ บริษัท B ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน ตามมาตรา 26 2. บริษัท B นำมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองในปี พ.ศ ไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน 3. บริษัท B ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ในแต่ละสาขาระดับละ ,000 บาท “ได้รับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 ในปีใด ให้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ในการทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน และขอรับเงินอุดหนุนได้ครั้งเดียว” มาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรอง ให้พิจารณาวันที่ตามหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน (แบบ รมฐ.3) ที่ออกให้ ณ วันที่ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

31 19/05/62 ผู้ประกอบกิจการ 6 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าว ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 180 วันก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน ให้เงินอุดหนุน 1,000 บาทต่อลูกจ้าง1 คน ทั้งนี้ไม่เกิน ปีละ 100,000 บาท 6. ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าวตามมาตรฐานฝีมือ ไม่น้อยกว่า 180 วัน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 1,000 บาทต่อลูกจ้าง 1 คน ทั้งนี้ ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ประกาศข้อ 9 31 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

32 ยื่นขอรับเงินอุดหนุน
ตัวอย่าง ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 9 (ลว. 9 มิ.ย.60) √ รับเงินจำนวน 1,000 บาท ต่อลูกจ้าง 1 คน (ไม่เกินปีละ 100,000 บาท) ผู้ประกอบกิจการ ส่งลูกจ้าง เข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือให้แก่ลูกจ้างดังกล่าว ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ต้องเป็นการส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบฯ ตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นไป จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบ ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ (จำนวน 66 สาขา) ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 ปี พ.ศ. 2560 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปี ใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

33 ตัวอย่าง ปี พ.ศ ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 40 คน 1 ก.พ. 60 จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือให้แก่ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 3 คนละ 600 บาทต่อวัน (ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนยื่นขอรับเงินอุดหนุน) 1 ม.ค. 60 ทดสอ บ 31 ม.ค. 60 1 ก.พ. 60 30 ก.ย. 60 31 มี.ค. 61 20 ส.ค. 60 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน คนละ 1,000 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงินจำนวน 40,000 บาท (40 คน x 1,000 บาท) ยื่นขอรับเงิน 20 ส.ค. 60 30 ก.ค. 60 31 ธ.ค. 60 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปี ใด ให้ยื่นคำขอรับเงิน ช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายใน วันที่ 31 มีนาคมของปี ถัดไป ต้องเป็นการส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบฯ ตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นไป กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น 33 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

34 ตัวอย่าง ตัวอย่าง คำอธิบาย
1. ในปี พ.ศ (1 ม.ค. 60 – 30 ม.ค. 60) ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน แห่งชาติ จำนวน 40 คน 2. วันที่ 1 ก.พ. 60 เริ่มจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือให้แก่ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 3 จำนวน 40 คน ๆ ละ 1,000 บาท ต่อวัน โดยจ่ายไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนยื่นขอรับเงินอุดหนุน (1 ก.พ.60 – 30 ก.ค.60 = 180 วัน) (ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ : ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 3 เท่ากับ 600 บาท) 2. วันที่ 1 ก.พ. 60 เริ่มจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือให้แก่ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 3 จำนวน 40 คน ๆ ละ 600 บาท ต่อวัน (ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ) โดยจ่าย ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนยื่นขอรับเงินอุดหนุน (1 ก.พ.60 – 30 ก.ค.60 = 180 วัน) 3. วันที่ 20 ส.ค. 60 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนฯ จำนวน 1,000 บาท ต่อลูกจ้าง 1 คน จำนวน 40 คน เป็นเงินจำนวน 40,000 บาท (40 คน X 1,000 บาท) กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

35 19/05/62 ผู้ประกอบกิจการ 7 อุดหนุนแก่ผู้ประกอบกิจการเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ให้เงินอุดหนุนเท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ทั้งนี้ หลักสูตรการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานประกาศกำหนด ประกาศข้อ 10 7. ผู้ประกอบกิจการเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ทั้งนี้ หลักสูตรการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานประกาศกำหนด (เพิ่มเติมใหม่) ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ลงวันที่ 19 กันยายน 2560 35 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

36 หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หมายความว่า หลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ ประดิษฐ์เครื่องจักร เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ขึ้นใหม่ หรือพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้นเพื่อให้การทำงานได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ หมายความว่า หลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีระบบกึ่งอัตโนมัติ ระบบอัตโนมัติ หรือการควบคุมโดยระบบไร้สาย มาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ เพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการผลิตสินค้าหรือให้บริการได้ดียิ่งขึ้น สามารถผลิตสินค้า มีคุณภาพได้ปริมาณมากขึ้น ทำงานได้รวดเร็วขึ้น เพิ่มผลผลิตหรือลดการสูญเสีย กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

37 การฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม
หลักสูตรการฝึกอบรม การฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม ต้องเป็นหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม ตามแนบท้ายประกาศ ดังนี้ การออกแบบสมองกลฝังตัวในโรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมหุ่นยนต์ในระบบงานอุตสาหกรรม 3. การใช้โปรแกรมเมเปิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ขั้นสูง 4. สาขา การสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบ 3 มิติ (3D Animation) 5. การจำลองโมเดลสายการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้วยโปรแกรม Automation Plant Simulation การฝึกอบรมเพื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ต้องเป็นหลักสูตรการฝึกอบรมสอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย มีระยะเวลาการฝึก ไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง และต้องได้รับความเห็นชอบจากสพร./สนพ.)(ต้องจัดทำหลักสูตรเสนอ) กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

38 อุตสาหกรรมเป้าหมาย หมายความว่า อุตสาหกรรมเป้าหมายตามกฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย รองรับนโยบายประเทศไทย 4.0 ดังนี้ (1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวระดับคุณภาพ (4) อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารที่มีมูลค่าเพิ่มสูง (6) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (7) อุตสาหกรรมการบิน (8) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (9) อุตสาหกรรมดิจิทัล (10) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

39 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน
กรณีจัดฝึกอบรมเอง ค่าตอบแทนวิทยากร เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินชั่วโมงละ 5,000 บาท ค่าวัสดุที่จะใช้ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน โดยจะต้องมีลักษณะการใช้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในหลักสูตรนั้น ๆ และไม่ปะปนกับที่ใช้ในการประกอบกิจการ ทั้งนี้ เท่าที่จ่ายจริง เฉลี่ยจากผู้เข้ารับการฝึกแต่ละคน ไม่เกินคนละ 4,000 บาท กรณีส่งลูกจ้างไปเข้ารับการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ค่าลงทะเบียนเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินคนละ 10,000 บาท กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

40 ผู้เข้ารับการฝึกอบรม การขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการฝึกอบรม
ต้องเป็นลูกจ้างของผู้ประกอบกิจการที่จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน และปฏิบัติงาน ในหน้าที่รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรที่จะฝึกอบรม การขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการฝึกอบรม ยื่นหลักสูตรการฝึกอบรมให้สพร./สนพ. พิจารณาใหความเห็นชอบก่อนการฝึกอบรม ไม่น้อยกว่า 30 วัน ตามแบบ ขร.1 แจ้งการเปลี่ยนแปลง หากจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงกำหนดการฝึกอบรม สถานที่ฝึกอบรม หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้แจ้งสพร./สนพ. ทราบเป็นหนังสือก่อนดำเนินการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 7 วัน กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

41 การยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
เมื่อดำเนินการฝึกอบรมเสร็จสิ้น ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน พร้อมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ภายใน 60 วันนับแต่วันเสร็จสิ้นการฝึกอบรม แต่ไม่เกินวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

42 ผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 10 (ลว. 9 มิ.ย.60) √ เป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมหลักสูตรการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยี มาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินปีละ 100,000 บาท ยื่นหลักสูตรการฝึกอบรม ให้ สพร./สนพ. พิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อน การฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 30 วัน ตามแบบ ขร.1 ดำเนินการฝึกอบรม 1. หลักสูตรการฝึกอบรม เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม 2. หลักสูตรการฝึกอลรมเพื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ยื่นคำขอรับเงินอุดหนุน พร้อมเอกสารหลักฐาน ภายใน 60 วัน นับแต่วันเสร็จสิ้นกฝึกอบรมแต่ไม่เกินวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2560 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

43 ตัวอย่าง ตัวอย่าง ยื่นหลักสูตรการฝึกอบรม (แบบ ขร.1) ให้สพร.หรือ สนพ.พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนฝึกอบรม ไม่น้อยกว่า 30 วัน จัดฝึกอบรมหลักสูตร การออกแบบสมองกลฝังตัว ในโรงงานอุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 1 – 5 ธ.ค. 60 30 วัน ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 1 ม.ค. 60 1 พ.ย. 60 3 พ.ย. 60 1 ธ.ค. 60 5 ธ.ค. 60 20 ธ.ค. 60 31 มี.ค. 61 พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักสูตรการฝึกอบรม ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน จำนวน 100,000 บาท สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

44 ตัวอย่าง ตัวอย่าง คำอธิบาย
ปี พ.ศ ผู้ประกอบกิจการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม ชื่อหลักสูตร “การออกแบบสมองกลฝังตัวในโรงงานอุตสาหกรรม” จำนวน 1 รุ่น ฝึกอบรมลูกจ้าง จำนวน 10 คน ระยะเวลาการฝึกอบรม จำนวน 30 ชั่วโมง 1. ยื่นหลักสูตรการฝึกอบรมที่จะขอรับเงินอุดหนุน (แบบ ขร.1) พร้อมเอกสารรายชื่อ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม และหลักฐานประกอบ ให้สพร.หรือสนพ. ที่สถานประกอบกิจการตั้งอยู่ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 30 วัน : 1 พ.ย. 2560 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม รวมจำนวน 100,000 บาท (จัดฝึกอบรมเอง) (1) ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 2,000 บาทต่อชั่วโมง จำนวน 30 ชั่วโมง (1 คน x 2,000 บาท x 30 ชม.) เป็นเงินจำนวน 60,000 บาท (2) ค่าวัสดุที่ใช้ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน จำนวน 10 คน คนละ 4,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท (10 คน x 4,000 บาท) เป็นเงินจำนวน 40,000 บาท กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

45 ตัวอย่าง ตัวอย่าง คำอธิบาย
2. ผู้อำนวยการสพร.หรือ สนพ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ แบบ ขร.1 : 3 พ.ย. 2560 3. ผู้ประกอบกิจการเริ่มดำเนินการจัดฝึกอบรมให้แก่ลูกจ้าง จำนวน 10 คน จำนวน 30 ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 1 ธ.ค. 60 – 5 ธ.ค. 60 4. ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน (แบบ ชอ.2-4) จำนวน 100,000 บาท พร้อมเอกสารหลักฐาน : 20 ธ.ค (ยื่นคำขอภายใน 60 วันนับแต่วันเสร็จสิ้นการฝึกอบรม แต่ไม่เกินวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป) กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

46 ผู้ดำเนินการทดสอบฯ /ศูนย์ประเมินฯ ตามมาตรา 26/4(2)
19/05/62 ผู้ดำเนินการทดสอบฯ /ศูนย์ประเมินฯ ตามมาตรา 26/4(2) 8 อุดหนุนแก่ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามมาตรา 24 หรือศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) ที่เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งส่งเงินค่าทดสอบหรือค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน ให้เงินอุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน 8. ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามมาตรา 24 หรือศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) ที่เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งส่งเงินค่าทดสอบหรือค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน ให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน (เพิ่มเติมใหม่) ประกาศข้อ 11 46 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

47 ผู้ดำเนินการทดสอบ/ศูนย์ประเมินฯ ตามมาตรา 26/4(2)
19/05/62 ผู้ดำเนินการทดสอบ/ศูนย์ประเมินฯ ตามมาตรา 26/4(2) การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศ ข้อ 11 (ลว. 9 มิ.ย.60) √เท่ากับจำนวนเงินค่าทดสอบหรือค่าธรรมเนียมที่ส่งเข้ากองทุน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามมาตรา 24 ส่งเงินค่าทดสอบเข้ากองทุน ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) ที่เป็นหน่วยงาน ของรัฐ ส่งเงินค่าธรรมเนียม เข้ากองทุน ผู้ดำเนินการทดสอบฯ/ ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถฯ ม.26/4(2) ขอรับเงินอุดหนุนเท่ากับจำนวนเงิน ค่าทดสอบหรือค่าธรรมเนียมที่ส่งเข้ากองทุน ยื่นขอรับเงินอุดหนุนเท่ากับจำนวนเงิน ที่ส่งเข้ากองทุน ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2560 ไม่เกินวันที่ 31 มี.ค. 2561 สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดขึ้นในปีใด ให้ ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

48 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุน เท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้า กองทุน
ตัวอย่าง ดำเนินการทดสอบฝีมือแรงงาน จำนวน 20 คน เก็บค่าทดสอบคนละ 1,000 บาท ส่งเงินค่าทดสอบเข้ากองทุน จำนวน 20,000 บาท ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 1 ม.ค. 60 30 ก.ย. 60 31 ธ.ค. 60 31 มี.ค. 61 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุน เท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้า กองทุน สิทธิขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนนเกิดมีขึ้นใน ปีใด ให้ยื่นคำขอรับ เงินช่วยเหลือหรือ อุดหนุนได้ไม่เกินวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กำหนดให้ยื่นคำขอภายในเดือนกันยายน เพื่อให้การอนุมัติเงินช่วยเหลืออุดหนุนและการจ่ายเงินเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร และเป็นไปตามเป้าหมายเกณฑ์ชี้วัด การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปีบัญชีของปีนั้น กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

49 การยื่นขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
19/05/62 การยื่นขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนตามประกาศข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 และข้อ 11 กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดมีขึ้นในปีใด ให้ยื่น คำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป ประกาศข้อ 17 11. ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดมีขึ้นในปีใด ให้ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป กรณียื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนไม่ทันภายในวันที่ 30 กันยายน สามารถยื่นคำขอได้ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป 49 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

50 สถานที่ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ยื่นคำขอ ณ หน่วยงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่ตั้งอยู่ในจังหวัดที่สถานประกอบกิจการ ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานหรือศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ ตั้งอยู่ กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน สถานประกอบกิจการมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในจังหวัดใด ให้ยื่นคำขอ ณ หน่วยงานของกรมฯ ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการยื่นขอรับเงินอุดหนุนเกินวงเงินที่กำหนด กรณีอุดหนุนไม่เกินปีละ 100,000 บาท กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

51 การยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงงาน
ผู้ประกอบกิจการที่ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ต้องยื่นหลักสูตรการฝึกอบรมที่จะขอรับเงินอุดหนุน ให้สพร.หรือ สนพ. พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 30 วัน ตามแบบ ขร.1 ณ ท้องที่ที่สถานประกอบกิจการตั้งอยู่ กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน สถานประกอบกิจการมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในจังหวัดใด ให้ยื่นคำขอ ณ หน่วยงานของกรมฯ ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการยื่นขอรับเงินอุดหนุนเกินวงเงินที่กำหนด กรณีอุดหนุนไม่เกินปีละ 100,000 บาท กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

52 1 2 ผู้ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนให้ปฏิบัติตามเงื่อนไข
รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาฝีมือแรงงานให้สพร. หรือ สนพ. ทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ดำเนินการแล้วเสร็จ ตามแบบ ชอ.3 หรือ 3-1 หรือ 3-2 แล้วแต่กรณี 1 ยินยอมให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ และคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจตรา และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาฝีมือแรงงานตามที่ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 2 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

53 ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
ส่งเสริมให้มีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงานแห่งขาติ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีทักษะฝีมือที่ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมหลักสูตรนวัตกรรม หรือหลักสูตรการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ส่งเสริมให้มีการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ ส่งเสริมให้มีการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนและนำมาตรฐานฝีมือแรงงานนั้นไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ผู้ประกอบกิจการ ผู้ประกอบอาชีพ กลุ่มผู้ประกอบกิจการ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

54 ลูกจ้าง ผู้บริโภค ประโยชน์ที่ได้รับ ได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ได้รับค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน ลูกจ้าง ได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ผู้บริโภค กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

55 แบบต่างๆ ที่ใช้ดำเนินการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
แบบคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน : 7 แบบ ที่ ผู้ขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ประกาศ แบบคำขอ 1 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ทดสอบครบ 100 คน อุดหนุน 10,000 บาท อุดหนุนค่าทดสอบกรณีกรมฯ ส่งผู้เข้ารับการทดสอบไปทดสอบกับศูนย์ทดสอบฯ - ส่งเงินค่าทดสอบเข้ากองทุน อุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน ข้อ 4  ข้อ 5 ข้อ 11 ชอ.1 2 ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4(2) ส่งเงินค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน ชอ.1-1 3 ผู้ประกอบกิจการส่งเงินสมทบเข้ากองทุน อุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง ข้อ 6 ชอ.2 4 ผู้ประกอบกิจการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างในปีที่ผ่านมา ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 ข้อ 7 ชอ.2-1 5 ผู้ประกอบกิจการได้รับการรับรองมาตรฐานฯ ของตนตามมาตรา 26 ข้อ 8 ชอ.2-2 6 ผู้ประกอบกิจการส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบฯ และจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ อุดหนุนคนละ 1,000 บาท ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ข้อ 9 ชอ.2-3 7 ผู้ประกอบกิจการฝึกอบรมเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ผลิตสินค้าหรือบริการ ข้อ 10 ชอ.2-4 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

56 แบบต่างๆ ที่ใช้ดำเนินการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
แบบรายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาฝีมือแรงงานของผู้ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน จากกองทุนฯ ที่ ผู้ขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ประกาศ แบบรายงาน 1 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ทดสอบครบ 100 คน อุดหนุน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 100 คน อุดหนุนค่าทดสอบกรณีกรมฯ ส่งผู้เข้ารับการทดสอบไปทดสอบกับศูนย์ทดสอบฯ ส่งเงินค่าทดสอบเข้ากองทุน อุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 11 ชอ.3 2 ผู้ประกอบกิจการ ส่งเงินสมทบเข้ากองทุน อุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่งเข้ากองทุน ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานลูกจ้างในปีที่ผ่านมา ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 อุดหนุน 200 บาทต่อคน ได้รับการรับรองมาตรฐานฯ ของตนตามมาตรา 26 อุดหนุนสาขาระดับละ 10,000 บาท ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบฯ และจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ ฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ผลิตสินค้าหรือบริการ ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 ชอ.3-1 3 ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4(2) ส่งเงินค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน ชอ.3-2 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

57 แบบต่างๆ ที่ใช้ดำเนินการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
แบบรายงานผลการพิจารณาอนุมัติการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนฯ ที่ ผู้ขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ประกาศ แบบรายงาน 1 ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ทดสอบครบ 100 คน อุดหนุน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามีจำนวนตั้งแต่ 75 คนขึ้นไป ให้ปัดเป็น 100 คน ข้อ 4 ชอ.4 2 ผู้ดำเนินการทดสอบฯ ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฯ ให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมฯ ส่งไปทดสอบ ข้อ 5 ชอ.4-1 3 ผู้ประกอบกิจการส่งเงินสมทบเข้ากองทุน อุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่งเข้ากองทุน  ข้อ 6 ชอ.4-2 4 ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างในปีที่ผ่านมา ส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 70 อุดหนุนคนละ 200 บาทต่อคน ข้อ 7 ชอ.4-3 5 ผู้ประกอบกิจการได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน ตามมาตรา 26 อุดหนุนสาขาระดับละ 10,000 บาท ข้อ 8 ชอ.4-4 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

58 แบบต่างๆ ที่ใช้ดำเนินการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
แบบรายงานผลการพิจารณาอนุมัติการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนฯ ที่ ผู้ขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ประกาศ แบบรายงาน 6 ผู้ประกอบกิจการส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ อุดหนุนคนละ 1,000 บาท ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ข้อ 9 ชอ.4-5 7 ผู้ประกอบกิจการดำเนินการฝึกอบรมให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรม หรือนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ อุดหนุนเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินปีละ 100,000 บาท ข้อ 10 ชอ.4-6 8 ผู้ดำเนินการทดสอบฯ ตามมาตรา 24 ส่งเงินค่าทดสอบเข้ากองทุน หรือศูนย์ประเมิน ความรู้ความสามารถตามมาตรา 26/4 (2) ที่เป็นหน่วยงานของรัฐ ส่งเงินค่าธรรมเนียมเข้ากองทุน อุดหนุนเท่ากับจำนวนเงินที่ส่งเข้ากองทุน ข้อ 11 ชอ.4-7 9 ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง อุดหนุนเป็นค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่นของผู้ประเมิน และค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรับรองความรู้ความสามารถ ข้อ 12 ชอ.4-8 10 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในกรณีที่งบประมาณมีจำนวนไม่เพียงพอ ข้อ 13 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

59 4 แบบต่างๆ ที่ใช้ดำเนินการให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน
แบบการยื่นขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการฝึกอบรม ที่ รายการ ประกาศ แบบ 1 แบบขอรับความเห็นชอบหลักสูตรการฝึกอบรมฝีมือแรงงานเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้แก่ลูกจ้างเพื่อเป็นการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือนำเทคโนโลยีมาใช้ ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ข้อ 5 ขร.1 2 แบบหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ข้อ 10 - กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

60 60 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

61 การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 61 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

62 การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรา 28 (1) และ (2) บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อให้กู้ยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการอบรมฝีมือแรงงาน หรือการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 62 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

63 ผู้มีสิทธิ กู้ยืมเงิน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
การให้กู้ยืมเงิน ผู้มีสิทธิ กู้ยืมเงิน ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ เพี่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมฝีมือแรงงานหรือทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 63 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

64 กู้ยืมเพื่อฝึกอบรมฝีมือแรงงาน
ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ประกอบกิจการ สาขาอาชีพช่างก่อสร้าง สาขาอาชีพช่างอุตสาหการ สาขาอาชีพช่างเครื่องกล สาขาอาชีพช่างไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ สาขาอาชีพช่างอุตสาหกรรมศิลป์ สาขาอาชีพเกษตรอุตสาหกรรม สาขาอาชีพภาคบริการ กู้ยืมเพี่อเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ต้องเป็นสาขาอาชีพที่จะส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา 7 (1) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 64 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

65 กู้ยืมเพื่อทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ กู้ยืมเพี่อเป็นค่าใช้จ่ายในการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 ต้องเป็นมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 22 หรือ มาตรา 26 65 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

66 คุณสมบัติผู้มีสิทธิกู้ยืมเงิน
ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ เป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลที่มีสัญชาติไทย ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นลูกหนี้กองทุน กรณีเคยกู้แล้ว ถ้าจะกู้ใหม่ต้องดำเนินการ ดังนี้  ฝึกอบรมให้เสร็จสิ้น และปิดบัญชีสัญญาเดิมก่อน  รายงานผลติดตามการให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (แบบ กย.6) 66 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

67 การค้ำประกัน ผู้กู้ยืมเป็นนิติบุคคล หลักประกันในการค้ำประกัน
1. พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ 2. หนังสือค้ำประกันของธนาคาร ต้องมีจำนวนเงิน ค้ำประกันไม่น้อยกว่าวงเงินกู้ยืม และต้องมีระยะเวลาค้ำประกัน เกินกว่าระยะเวลาสิ้นสุดสัญญาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี หรือ 3. กรณีผู้กู้ยืมจดทะเบียน เป็นนิติบุคคล ให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นผู้ค้ำประกันได้แก่ กรรมการบริหารหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่นของนิติบุคคล แล้วแต่กรณี กรณีผู้ค้ำประกัน มีคู่สมรสต้องได้รับความยินยอมจาก คู่สมรส โดยให้ คู่สมรสลงนาม ให้ความยินยอม ในสัญญาค้ำประกัน 67 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

68 การค้ำประกัน ผู้กู้ยืมเป็นบุคคลธรรมดา 1. พันธบัตรรัฐบาลไทย
หลักประกัน : หลักประกันในการค้ำประกัน 1. พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ 2. หนังสือค้ำประกันของธนาคาร ต้องมีจำนวนเงินค้ำประกันไม่น้อยกว่าวงเงินกู้ยืม และต้องมีระยะเวลาค้ำประกันเกินกว่าระยะเวลาสิ้นสุดสัญญาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี 68 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

69 หลักฐานการยื่นขอกู้ : กรณีนิติบุคคล
1. หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลพร้อมวัตถุประสงค์ (ไม่เกิน 3 เดือน ในวันที่ยื่นขอกู้) 2. หนังสือมอบอำนาจทำการแทนนิติบุคคล พร้อมติดอากรแสตมป์ 3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม 4. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับมอบอำนาจ 5. รายละเอียดประกอบการขอกู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อดำเนินการฝึกอบรม/ เพื่อทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 6. ประมาณการรายการค่าใช้จ่ายในการดำเนินการฝึกอบรม/ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 7. สำเนาใบอนุญาตดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน (เฉพาะผู้ดำเนินการทดสอบ) 8. รายงานข้อมูลเครดิตบูโรของนิติบุคคลที่กู้ยืม (ไม่เกิน 30 วัน ในวันที่ยื่นคำขอกู้) 9. รายงานงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีเรียบร้อยแล้ว ย้อนหลัง 2 ปี 10. ข้อมูลตำแหน่งงานของลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตร 11. แผนที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการ/ที่อยู่ตามทะเบียนบ้านของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม 12. แผนที่ตั้งสถานที่ดำเนินการฝึก/ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 69 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

70 หลักฐานการยื่นขอกู้ : กรณีบุคคลธรรมดา
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้กู้ยืมเงิน /หุ้นส่วนผู้มีอำนาจลงนาม 2. ใบทะเบียนพาณิชย์/ ใบทะเบียนการค้าหรือเอกสารอื่นที่แสดงว่าประกอบธุรกิจ เช่น สัญญาเช่าสถานประกอบกิจการ แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ ฯลฯ 3. รายละเอียดประกอบการขอกู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อดำเนินการฝึกอบรม/ เพื่อทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 4. ประมาณการรายการค่าใช้จ่ายในการดำเนินการฝึกอบรม/ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 5. สำเนาใบอนุญาตดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน (เฉพาะผู้ดำเนินการทดสอบ) 6. รายงานข้อมูลเครดิตบูโรของผู้กู้ยืม (ไม่เกิน 30 วัน ในวันที่ยื่นคำขอกู้) 7. ข้อมูลตำแหน่งงานของลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตร 8. แผนที่ตั้งสถานที่ประกอบกิจการ, ที่อยู่ปัจจุบัน/ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน 9. แผนที่ตั้งสถานที่ดำเนินการฝึก/ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 70 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

71 การให้กู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
วงเงินกู้ยืม ไม่เกิน 1,000,000 บาท ต่อครั้ง อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลาผ่อนชำระคืน ไม่เกิน 12 เดือน 71 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

72 อัตราดอกเบี้ย ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดวงเงินกู้ยืมและการชำระเงินคืนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ลงวันที่ 13 กรกฎาคม 2559 1. ผู้ดำเนินการฝึก 2. ผู้ดำเนินการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน 3. ผู้ประกอบกิจการ อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อปี ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดวงเงินกู้ยืมและการชำระเงินคืนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2560 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 ต่อปี เป็นเวลา 1 ปี (ตั้งแต่ 8 มิ.ย. 60 – 7 มิ.ย. 61) 72 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

73 ผู้กู้ยืมที่ทำสัญญาตั้งแต่ 8 มิ.ย. 60 – 7 มิ.ย. 61
19/05/62 ผู้กู้ยืมที่ทำสัญญาตั้งแต่ 8 มิ.ย. 60 – 7 มิ.ย. 61 ผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และผู้ประกอบกิจการ จะได้รับอัตรา ดอกเบี้ย ตลอดอายุสัญญา เริ่ม 8 มิ.ย.60 สิ้นสุด 7 มิ.ย. 61 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 ตลอดอายุสัญญา ที่มา : ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดวงเงินกู้ยืมและการชำระเงินคืนกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2560 73 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

74 ขอข้อมูลเครดิตบูโร ได้ที่ไหน
74 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

75 สถานที่ขอข้อมูลเครดิตบูโร : กรณีนิติบุคคล
ณ ที่ทำการศูนย์ตรวจเครดิตบูโร ค่าบริการ 100 บาท (ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สำนักงานใหญ่) ทางไปรษณีย์ ค่าบริการ บาท (รวมค่าจัดส่งไปรษณีย์ จำนวน 20 บาท แล้ว) 75 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

76 สถานที่ขอข้อมูลเครดิตบูโร : กรณีบุคคลธรรมดา
- ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สำนักงานใหญ่ ปากซอยสุขุมวิท อาคาร กลาสเฮ้าส์ (ชั้นใต้ดิน) สถานีรถไฟฟ้า BTS ศาลาแดง ห้างเจ-เวนิว (นวนคร) ชั้น 4 ณ ที่ทำการศูนย์ตรวจเครดิตบูโร ค่าบริการ 100 บาท ณ ธนาคาร ค่าบริการ 150 บาท ธนาคารธนชาติ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 76 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

77 เจ้าของข้อมูล มาติดต่อด้วยตนเอง
การขอข้อมูลเครดิตบูโร ณ ที่ทำการศูนย์ตรวจเครดิตบูโร เจ้าของข้อมูล มาติดต่อด้วยตนเอง นิติบุคคล สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ที่รับรองไว้ไม่เกิน 3 เดือน สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทาง ของกรรมการผู้มีอำนาจ พร้อมตัวจริงนำมาแสดง บุคคลธรรมดา บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมตัวจริง นำมาแสดง ดูรายละเอียดเพิ่มเติม 77 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

78 การขอข้อมูลเครดิตบูโร ณ ที่ทำการศูนย์ตรวจเครดิตบูโร
19/05/62 การขอข้อมูลเครดิตบูโร ณ ที่ทำการศูนย์ตรวจเครดิตบูโร การมอบอำนาจให้บุคคลอื่นทำการแทน บุคคลธรรมดา หนังสือมอบอำนาจบุคคลธรรมดาบุคคลธรรมดา บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจ พร้อมตัวจริงนำมาแสดง สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับมอบอำนาจ พร้อมตัวจริงนำมาแสดง นิติบุคคล หนังสือมอบอำนาจนิติบุคคล สำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ที่รับรองไว้ไม่เกิน 3 เดือน สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของกรรมการผู้มีอำนาจ พร้อมตัวจริงนำมาแสดง สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาหนังสือเดินทางของผู้รับมอบอำนาจ พร้อมตัวจริงนำมาแสดง 78 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

79 การขอข้อมูลเครดิตบูโรทางไปรษณีย์ (เฉพาะนิติบุคคล)
1. กรอกรายละเอียด แบบคำขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตนิติบุคคล 2. ชำระค่าบริการตรวจสอบ เป็นแคชเชียร์เช็ค สั่งจ่ายบริษัท ข้อมูล เครดิตแห่งชาติจำกัด 3. จัดส่งเอกสารหลักฐานตามข้อ 1-2 ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน 4. บริษัทจะส่งรายงานข้อมูลเครดิตให้กรรมการผู้จัดการ ตามที่อยู่ ที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองนิติบุคคล ดูรายละเอียดเพิ่มเติม 79 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

80 การขอข้อมูลเครดิตบูโรที่ธนาคาร (เฉพาะบุคคลธรรมดา)
1. กรอกรายละเอียด แบบคำขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตที่ธนาคาร - กรณีบุคคลสัญชาติไทย - บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรอื่นที่หน่วย ราชการออกให้ที่แสดงเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน (ตัวจริง) 2. ยืนเอกสาร และชำระค่าธรรมเนียมการตรวจสอบ 3. บริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จะจัดส่งรายงานให้ภายใน 1 สัปดาห์ นับจากวันที่ยื่นคำขอที่ธนาคาร ดูรายละเอียดเพิ่มเติม 80 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

81 การติดอากรแสตมป์ ตามประมวลรัษฎากร หมวด 6 ส่วนที่ 1 การเสียอากร
มาตรา 104 บัญญัติว่า “ตราสารที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายหมวดนี้ ต้องปิดแสตมป์บริบูรณ์ตามอัตราที่กำหนดไว้ในบัญชีนั้น ซึ่งบัญชีท้ายประมวลรัษฎากรกำหนดว่าการกู้ยืมเงินผู้ให้กู้เป็นผู้ที่ต้องเสียค่าอากร และการค้ำประกันผู้ค้ำประกันเป็นผู้ที่ต้องเสียค่าอากร 81 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

82 การติดอากรแสตมป์สัญญากู้ยืมเงิน การติดอากรแสตมป์สัญญา
ผู้ให้กู้เป็นผู้ติดอากรแสตมป์ ลงบนสัญญากู้ยืมเงิน ผู้กู้ขีดฆ่าแสตมป์และลงวันที่กำกับ โดยติดเฉพาะต้นฉบับ การติดอากรแสตมป์สัญญา ค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันเป็นผู้ติดอากรแสตมป์ลงบนสัญญาค้ำประกันพร้อม ขีดฆ่าแสตมป์และลงวันที่กำกับ โดยติดเฉพาะต้นฉบับ 82 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

83 อัตราการติดอากรแสตมป์สัญญากู้ยืมเงิน
ทุกจำนวนเงินกู้ยืม 2,000 บาท ให้ติดอากรแสตมป์ 1 บาท เศษของ 2,000 บาท แห่งยอดที่กู้ยืม ให้ติดอากรแสตมป์ 1 บาท เมื่อคำนวณอากรแสตมป์แล้วเกิน 10,000 บาท ให้ติดอากรแสตมป์สูงสุด 10,000 บาท อัตราการติดอากรแสตมป์สัญญาค้ำประกัน จำนวนเงินกู้ยืมไม่เกิน 1,000 บาท ให้ติดอากรแสตมป์ 1 บาท จำนวนเงินกู้ยืม 1,000 บาท แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ให้ติดอากรแสตมป์ 5 บาท จำนวนเงินกู้ยืมเกิน 10,000 บาทขึ้นไป ให้ติดอากรแสตมป์ 10 บาท 83 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

84 วิธีคำนวณอากรแสตมป์สัญญากู้ยืมเงิน
จำนวนเงินกู้ 700,500 บาท หารด้วย 2,000 บาท จำนวนเงิน 700,000 บาท = บาท เศษ 500 บาท = บาท ผู้ให้กู้ ต้องติดอากรแสตมป์ = บาท วิธีคำนวณอากรแสตมป์สัญญาค้ำประกัน จำนวนเงินกู้ 700,500 บาท (จำนวนเงินกู้เกิน 10,000 บาทขึ้นไป) นาย ข ผู้ค้ำประกัน ต้องติดอากรแสตมป์ = 10 บาท ตัวอย่าง บริษัท ก กู้ยืมเงินกองทุนจำนวน 700,500 บาท โดยให้ นาย ข เป็นผู้ค้ำประกัน 84 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

85 ทำสัญญากู้ยืมและรับเช็ค
วันเริ่มชำระหนี้ กรณีผู้ดำเนินการฝึก ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ ให้ชำระหนี้เงินกู้ยืมคืนกองทุนหลังจากลงนามในสัญญาและได้รับเช็คแล้ว โดยชำระเป็นรายเดือน ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ตัวอย่าง บริษัท ก จำกัด กู้ยืมเงินกองทุนเพื่อดำเนินการฝึกอบรมให้แก่ลูกจ้าง โดยทำสัญญากู้ยืมเงินและได้รับเช็ควันที่ 8 กรกฎาคม 2560 ดังนั้น บริษัท ก จำกัด จะต้องเริ่มชำระหนี้งวดแรก ภายในวันที่ 5 สิงหาคม 2560 8 ก.ค. 60 1-5 ส.ค. 60 ทำสัญญากู้ยืมและรับเช็ค เริ่มชำระงวดแรก 85 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

86 การชำระหนี้เงินกู้ยืม ไม่เกินวันที่ 5 ของเดือนถัดไป
วิธีการชำระเงิน เงินสด เช็ค ตั๋วแลกเงิน หรือธนาณัติ ชำระผ่านธนาคาร เริ่มชำระหนี้คืน หลังจากลงนามในสัญญา และได้รับเช็คแล้ว ไม่เกินวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ระยะเวลาผ่อนชำระไม่เกิน 12 เดือน 86 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

87 การติดตามหนี้ 87 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

88 การแจ้งชำระหนี้เงินกู้ยืม หนังสือแจ้งหนี้กำหนดให้ชำระภายใน 30 วัน
1. แจ้งหนี้เมื่อผิดนัด ชำระหนี้ ค้างชำระ 1-2 งวด แจ้งให้ชำระหนี้ที่ค้างชำระพร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี 2. แจ้งบอกเลิก สัญญา ค้างชำระหนี้ 3 งวดติดต่อกัน แจ้งให้ชำระหนี้ที่ค้างชำระพร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี 3. ส่งฟ้องคดี ไม่ชำระหนี้ตามหนังสือแจ้งบอกเลิกสัญญา ส่งฟ้องคดี หนังสือแจ้งหนี้กำหนดให้ชำระภายใน 30 วัน 88 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

89 สถานที่ยื่นคำขอกู้ยืมเงินและทำสัญญา
กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 89 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

90 การรายงานผลการกู้ยืมเงิน
ผู้กู้ยืมต้องรายงานผลการกู้ยืม ตามแบบ กย.6 ส่งให้สพร.หรือสนพ. ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานแล้วเสร็จ 90 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

91 ประโยชน์ที่ได้รับจากการกู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ยกเว้นภาษี ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการฝึกอบรมสามารถนำไปยกเว้นภาษีเงินได้ร้อยละร้อย ประเมินเงินสมทบกองทุน พัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด “ไม่ต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุน” ลดต้นทุน ลูกจ้างได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือ เพิ่มผลิตภาพแรงงาน ลดต้นทุนการผลิต กู้ใหม่ ชำระคืนหมดแล้ว ขอกู้ใหม่ได้ 91 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

92 สาระสำคัญ 1. อายุข้อมูลเครดิตบูโรในการยื่นคำขอกู้ยืมเงิน
- ต้องมีอายุไม่เกิน 30 วัน ณ วันที่ยื่นคำขอกู้ยืมเงิน - กรณีผู้กู้ยืมเงินรายเดิมประสงค์จะขอกู้ยืมเงินใหม่ (ปิดบัญชีแล้ว ก่อนจะขอกู้ยืมใหม่) ให้ยื่นข้อมูลเครดิตบูโรใหม่ด้วยทุกครั้ง 2. รายงานรายงานงบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน และงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ และหมายเหตุ เรื่องอื่นๆ ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีเรียบร้อยแล้วย้อนหลัง 2 ปี 92 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

93 สาระสำคัญ 3. จำนวนลูกจ้างที่ระบุในคำขอกู้ยืมเงิน (ข้อ1) ต้องตรงกับจำนวนลูกจ้าง ที่นำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม 4. จัดทำข้อมูลตำแหน่งงานลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตร เพื่อเป็นเอกสารประกอบคำขอกู้ยืมเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน 5. สถานประกอบกิจการจดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ และดำเนินการไม่ถึง 1 ปี - ให้ใช้หลักประกันเป็นหนังสือค้ำประกันธนาคาร เนื่องจากรายงานเครดิตบูโรไม่ปรากฏข้อมูลการดำเนินธุรกรรมทางการเงิน และยังไม่มีงบแสดงฐานะทางการเงิน 93 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

94 สาระสำคัญ 7. กำหนดเวลาการทำสัญญาเมื่อได้รับอนุมัติให้กู้ยืมเงิน
6. หากพิจารณาแล้วเห็นว่าสถานประกอบกิจการใดเอกสารประกอบคำขอกู้ยืมเงิน ไม่เพียงพอสามารถขอเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นกรณีไป 7. กำหนดเวลาการทำสัญญาเมื่อได้รับอนุมัติให้กู้ยืมเงิน - ให้ทำสัญญาภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งผลการพิจารณาอนุมัติ แต่หากมีเหตุจำเป็นสามารถเลื่อนระยะเวลาได้ แต่ไม่เกิน 30 วัน 94 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

95 สาระสำคัญ 8. การเลื่อนเวลาการฝึกอบรม/ทดสอบมาตรฐานฯ ออกไปจากที่แจ้งไว้ ในคำขอกู้ยืมเงิน - ให้ผู้กู้ยืมเงินแจ้งเหตุผล พร้อมระบุวันเริ่ม- จบฝึกอบรม หรือทดสอบมาตรฐานฯ ให้สพร.หรือ สนพ. ที่ทำสัญญา เพื่อแนบไว้ กับสัญญากู้ยืมเงิน การเลื่อนเวลาการฝึกอบรม/ทดสอบต้องไม่กระทบกับวงเงินกู้ยืมที่ได้รับอนุมัติและสัญญากู้ยืมเงิน 95 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

96 สาระสำคัญ 9. ต้องนำเงินกู้ยืมไปใช้ฝึกอบรม/ทดสอบมาตรฐานฯ ตามที่ได้รับอนุมัติ 10. หากตรวจสอบภายหลังพบว่าผู้กู้ยืมเงินระบุข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง จะพิจารณายกเลิกการอนุมัติให้กู้ยืมเงินกองทุนฯ 96 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

97 97 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

98 กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มงานบริหารกองทุน
สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติม กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มงานบริหารกองทุน โทร ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ : กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน 98


ดาวน์โหลด ppt การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google