วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ อ.ดร.สุไม บิลไบ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้ การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ “เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
สอดคล้องทฤษฎี การเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางปัญญาที่มนุษย์มีการเชื่อมโยงระหว่างความรู้/ประสบการณ์เดิมเข้ากับความรู้/ประสบการณ์ใหม่แล้วจัดระบบในสมองเป็นความจำถาวร สอดคล้องทฤษฎี การเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม ความรู้ไม่ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) สอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม
แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้ @ เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล @ เพื่อหาแนวทางการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ @ เพื่อจัดหาโอกาสสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากสื่อ @ เพื่อจัดหาโอกาสทางการศึกษาอย่างอิสระ และศึกษาด้วยตนเอง @ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์ของแหล่งเรียนรู้ @ เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ และทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์ @ เพื่อพัฒนาความคิดริเริ่ม ความเป็นอิสระ ความรับผิดชอบการตัดสินใจ การแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ @ เพื่อพัฒนาทักษะด้านการค้นคว้า การอภิปราย การสนทนา การนำเอาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ @ เพื่อเป็นแรงดลใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการศึกษาตลอดชีวิต
ลักษณะของแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ที่เกิดเองตามธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ที่จัดทำ หรือสร้างขึ้น ทะเลแหวก จ.กระบี่ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แหล่งเรียนรู้ที่เป็นทรัพยากรบุคคล
ประเภทของแหล่งเรียนรู้ บุคคล ทรัพยากรธรรมชาติ สื่อ วัสดุและสถานที่ เทคนิค กิจกรรม
ยกตัวอย่างแหล่งเรียนรู้ที่ตนเองรู้จัก แต่ละประเภท ยกตัวอย่างแหล่งเรียนรู้ที่ตนเองรู้จัก แต่ละประเภท (สามารถศึกษารายละเอียดใน pdf.file)
ข้อดีในการนำแหล่งเรียนรู้ไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน ผู้เรียนได้เรียนรู้จากของจริงทำให้เกิดประสบการณ์ตรง ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อชุมชนและกระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เรียนเกิดความรักท้องถิ่นและเกิดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น
บทบาทของครูผู้สอนในการใช้แหล่งเรียนรู้ ผู้จัดการ ผู้ร่วมทำกิจกรรม
ผู้ช่วยเหลือหรือแหล่งวิทยากร ผู้สนับสนุนและเสริมแรง บทบาทของครูผู้สอนในการใช้แหล่งเรียนรู้ ผู้ช่วยเหลือหรือแหล่งวิทยากร ผู้ติดตามตรวจสอบ ผู้สนับสนุนและเสริมแรง
เครือข่ายการเรียนรู้ หมายถึง การประสานแหล่งความรู้และข้อมูลข่าวสาร การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการปฏิบัติงานอย่างสอดคล้อง เชื่อมโยงกันทั้งระหว่างงานที่รับผิดชอบ การจัดการศึกษาในและนอกระบบโรงเรียนและระหว่างหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับต่าง ๆ ตลอดจนระบบการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ เพื่อสร้างแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดและกระจายความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่องตลอดชีวิตตามความต้องการของบุคคลและชุมชน (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2535)
Google+
Google+
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้ในประเทศไทย เครือข่ายไทยสาร เครือข่ายยูนิเน็ต (UNINET) สคูลเน็ต (SchoolNet) เครือข่ายนนทรี เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา การศึกษาทางไกล การใช้อินเทอร์เน็ตในการศึกษาทางไกลสามารถใช้ได้รูปแบบดังนี้ - ห้องเรียนเสมือน - สถาบันการศึกษาเสมือน หรือ มหาวิทยาลัยเสมือน (Virtual university) ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้ในประเทศไทย
เครือข่ายสังคมออนไลน์ Social Network
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศและใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน โดยผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายได้หลาย ๆ รูปแบบตามความต้องการและเหมาะสมกับการใช้งาน และสภาพแวดล้อม
รูปแบบของการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเชื่อมต่อกันภายในอาคารเดียวกันหรือบริเวณใกล้เคียงกัน ระยะทางในการเชื่อมต่อระหว่างจุดไม่ไกลมากนัก และมีการจัดระบบเครือข่ายด้วยหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านั้น เช่น การเชื่อมต่อภายในบริษัท ภายในมหาวิทยาลัย โดยมีการเชื่อมต่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันและมีการแบ่งทรัพยากรร่วมกัน
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless Lan: WLAN) ใช้สัญญาณความถี่วิทยุในการรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สาย (Wireless access point) ซึ่งทำหน้าที่เป็นจุดศูนย์กลางเครือข่ายเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่รองรับระบบไร้สายเพื่อเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area Network: MAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่กว่าเครือข่ายแลน มักใช้เชื่อมต่อระหว่างอาคาร หรือเชื่อมต่อภายในตำบล อำเภอ จังหวัดเดียวกัน โดยมีระยะทางในการเชื่อมต่อประมาณ 160 กม. ส่วนใหญ่เชื่อมต่อจากระบบ LAN ภายในองค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ เชื่อมต่อไปยังสาขาอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลออกไป
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อครอบคลุมทั่วประเทศหรือทั่วโลก โดยช่องทางสื่อสารอาจเป็นสายเคเบิลระหว่างประเทศ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม เพื่อส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้ที่อยู่ไกล เช่น การเชื่อมต่อระหว่างประเทศ ซึ่งเครือข่าย WAN ที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่วโลก
อินเทอร์เน็ตและเว็บ (Internet and Web) ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) อินเทอร์เน็ตและเว็บ (Internet and Web) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลก เข้าด้วยกัน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไซเบอร์สเปซ (Cyberspace) อินเทอร์เน็ตทำให้การเคลื่อนย้ายและส่งผ่านข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ราคาประหยัด สามารถส่งข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ รูปภาพ วิดีโอ เสียง email Skype Facebook
1969 อเมริกาเริ่มทำโครงงานพัฒนาเครือข่ายสากล ARPANET เครือข่ายสำนักงานโครงการวิจัยขั้นสูงInternet WEB / World Wide Web 1991 เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างประเทศในยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาด้านนิวเคลียร์
ตัวอย่างเว็บ ในยุค 1.0 เก่า ใหม่ ตัวอย่างเว็บ ในยุค 3.0
เก่า ตัวอย่างเว็บ ในยุค 1.0 ใหม่ ตัวอย่างเว็บ ในยุค 3.0
เก่า ตัวอย่างเว็บ ในยุค 1.0 ใหม่ ตัวอย่างเว็บ ในยุค 3.0
เก่า ตัวอย่างเว็บ ในยุค 1.0 ใหม่ ตัวอย่างเว็บ ในยุค 3.0
WEB 1.0 มุ่งเน้นที่การเชื่อมโยงข้อมูล ยุคแรก WEB 1.0 มุ่งเน้นที่การเชื่อมโยงข้อมูล ปี 2001 WEB 2.0 เนื้อหาแบบไดนามิค (Dynamic Content) การสื่อสารระหว่างกันทางสังคม มีการแบ่งปัน การแชร์โต้ตอบ เช่น Facebook ปัจจุบัน WEB 3.0 เน้นข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันมาเชื่อมโยงเข้าด้วยกันอัตโนมัติ เช่น Google, Application, Weather reports, traffic report
@ อินเทอร์เน็ตเป็นลักษณะของเครือข่ายทางกายภาพ ที่เกิดขึ้นจากการนำสายสัญญาณ สายเคเบิล และดาวเทียมเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน มีกฎระเบียบ และการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย เรียกว่า “Online” @ อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่อง และทรัพยากรต่าง ๆ ทั่วโลกให้สามารถทำงานร่วมกันได้ และติดต่อสื่อสารถึงกันได้ เว็บ มีลักษณะเป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบสื่อมัลติมีเดียที่ทำให้เข้าถึงทรัพยากรที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ตได้
การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต WEB & INTERNET Access ผู้ให้บริการ ทำการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและจัดเตรียมขั้นตอนหรือการเชื่อมต่อเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ผู้ใช้บริการ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ โดยการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider) หรือ ISP WEB BROWSER
เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ บนเว็บ WEB BROWSER เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ บนเว็บ
การประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเว็บ การสื่อสาร ธุรกิจ/การค้าออนไลน์ การค้นหา ความบันเทิง การศึกษา
ช่วยกันสรุป เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง เว็บและอินเทอร์เน็ตแตกต่างกันอย่างไร อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 อย่างไรบ้าง ยกตัวอย่างการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญ ๆ การเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง