copyright All Rights Reserved

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย น.ส. จิตรวรรณ เอกพันธ์ sc คณะวิทยาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ (กศ.บ.)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา อัลกอริทึมและการเขียนโปรแกรม (Algorithm and Programming)
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Introduction to VB2010 EXPRESS
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
การเขียนโปรแกรมร่วมสมัย
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
บทที่ 5 ภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับการผลิตระบบการสอนบนเครือข่าย
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ใบสำเนางานนำเสนอ:

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Chapter 3 Computer Software 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบถึง ประเภทของsoftware หน้าที่การทำงานของSystem SoftwareและApplication Software ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค การประยุกต์ใช้งานSoftwareในหน่วยงานธุรกิจ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Computer Software โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved ประเภทของ software System Software Application Software 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved System Software โปรแกรมหรือคำสั่งที่ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved OS เป็นชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น * DOS *Windows XP *Windows 98 *LINUX *Windows 2000 *UNIX 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved DOS เป็นOSที่ทำหน้าที่ดูแลการทำงานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมหน่วยความจำ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และทำหน้าที่ประสานงานให้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ทำหน้าที่ได้เหมาะสมตามคุณสมบัติของโปรแกรมนั้น ๆ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Microsoft Windows เป็น OS ที่ผลิตโดยบริษัท Microsoft การทำงานของระบบจะมีลักษณะเดียวกับระบบ DOS แต่ต่างกันที่ Microsoft จะติดต่อกับผู้ใช้ในลักษณะของภาพกราฟิกที่สวยงาม ที่เรียกว่า graphic user interface: GUI ผู้ใช้จะติดต่อกับระบบWindowsผ่านเมนูคำสั่ง (Menu) และรูปภาพที่เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคำสั่ง ซึ่งเรียกว่า Icon 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Microsoft Windows XP 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open OS) OS ที่สามารถใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ได้ โดยไม่ยึดติดว่าต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง ตลอดไป ตัวอย่างOS ประเภทนี้ เช่น UNIX, LINUX 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถเข้าใจภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ที่เรียกว่า ภาษาระดับสูง ดังนั้นในการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน จึงจำเป็นจะต้องมีตัวกลางที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นนักแปรภาษาโปรแกรมที่นำมาใช้เรียกว่าโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (translator) ซึ่งจะทำหน้าที่แปลภาษาระดับสูงที่เป็นโปรแกรมต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปของโปรแกรมเรียกใช้งานที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถทำงานได้ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

การทำงานของตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ Dim dt As New DataTable (Source code) Dim rowIndex As Integer = 0 Dim connstr As String = "Provider = microsoft.Jet.OLEDB.4.0;" & _ "Data Source = university.mdb" Dim sqlStr As String = "SELECT * FROM student“ ตัวแปรภาษา (Translator) 01010111 (Object code) เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ประเภทของตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) Compiler Interpreter Assembler 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Compiler การทำงานจะใช้หลักการแปลโปรแกรมต้นฉบับทั้งโปรแกรมให้เป็นโปรแกรมเรียกใช้งาน ซึ่งจะถูกบันทึกไว้ในลักษณะของแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ เมื่อต้องการเรียกใช้งานโปรแกรมก็สามารถเรียกจากไฟล์เรียกใช้งานโดยไม่ต้องทำการแปลหรือคอมไพล์อีก ทำให้การทำงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Compiler เป็นการทำงานกับภาษาระดับสูง (high-level language) การแปลความหมายของชุดคำสั่งที่เขียนทั้งหมดในคราวเดียวกัน เมื่อแปลความหมายของชุดคำสั่งต่าง ๆ หมดแล้วจะได้สัญลักษณ์ของรหัสคำสั่ง (Object code) ที่สามารถเก็บไว้ใช้ได้อีกเมื่อต้องการ เมื่อใดก็ตามที่มีการเรียกใช้งานโปรแกรมนั้นใหม่ ก็ไม่จำเป็นต้องไปแปลคำสั่งต่าง ๆ นั้นซ้ำอีก ทำให้ลดเวลาในการแปลความหมายได้มากมาย 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

การทำงานของคอมไพเลอร์ ผลลัพธ์ โปรแกรมต้นฉบับ คอมไพเลอร์ โปรแกรมเรียกใช้งาน ข้อมูลนำเข้า 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Interpreter จะแปลพร้อมกับการทำงานตามคำสั่งทีละคำสั่งตลอดไปทั้งโปรแกรม ทำให้การแก้ไขโปรแกรมกระทำได้ง่ายและรวดเร็ว การแปลโดยใช้ interpreter จะไม่สร้างโปรแกรมเรียกใช้งาน ดังนั้นจะต้องทำการแปลใหม่ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้งาน เช่น ภาษาBasic 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Interpreter ใช้สำหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาระดับสูง (high-level language) ทำหน้าที่แปลความหมายของชุดคำสั่งโดยจะแปลที่ละบรรทัดคำสั่ง เมื่อใดที่มีการเขียนโปรแกรมที่ไม่ถูกหลักไวยากรณ์ (Syntax error) ตัวแปลจะแจ้งข้อผิดพลาดให้ทราบและทำการแก้ไขทันที รหัสคำสั่งที่ได้จากการประมวลผลจะไม่สามารถเก็บไว้ใช้ได้อีก คือว่าเมื่อใดก็ตามที่มีการเรียกใช้ ก็จะต้องมีการประมวลผลชุดคำสั่งนั้นซ้ำอีก ทำให้การทำงานของโปรแกรมที่ได้ค่อนข้างช้า 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

การทำงานของ Interpreter โปรแกรมต้นฉบับ Interpreter Output Input 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Assembler เป็นตัวแปรภาษาแปลความหมายที่เป็นสัญลักษณ์ในการเขียนชุดคำสั่งด้วย ภาษาแอสแซมบลี ให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งใช้งานร่วมกับการเขียนโปรแกรมในภาษาระดับต่ำ (low-level language) 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Application Software เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานด้าน ต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ * ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (custom program) พัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อความต้องการ เฉพาะขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง * โปรแกรมสำเร็จรูป (package software) ผู้ใช้สามารถซื้อไปประยุกต์ใช้งานได้ทันที 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Application Software โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processor) โปรแกรมด้านการคำนวณ (Spreadsheet) โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล (Presentation) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database) โปรแกรมด้านการพิมพ์ (Desktop Publishing) โปรแกรมกราฟิก (Graphics) เช่น Photoshop, CAD 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Application Software โปรแกรมด้านมัลติมีเดีย เช่น Macromedia, Authorware โปรแกรมด้านติดต่อสื่อสาร เช่น Microsoft Internet Explorer, Netscape, ICQ, MSN 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Programming Languages) การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับการสื่อสารของมนุษย์ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นการรับคำสั่งในการทำงานคอมพิวเตอร์จะรับเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า “ภาษาเครื่อง” 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Language) ภาษาระดับสูง หรือ ภาษายุคที่สาม ภาษาระดับสูงมาก หรือ ภาษายุคที่สี่ ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาในยุคที่หนึ่ง (first-generation language) จะเป็นชุดคำสั่งที่ประกอบด้วยตัวเลขของเลขฐานสอง (bits) เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารเข้าใจกับภาษาเครื่องได้โดยตรง ดังนั้นโปรแกรมภาษาเครื่องจึงไม่จำเป็นต้องมีตัวแปรภาษา ข้อเสีย โปรแกรมจะสามารถทำงานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้พัฒนาโปรแกรมนั้นเท่านั้น 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาแอสแซมบลี (Assembly Language) ภาษาในยุคที่สอง (second-generation language) จะใช้รหัสและสัญลักษณ์แทน 0 และ 1 ในการเขียนโปรแกรม เช่น A แทนเครื่องหมาย บวก ใช้ C แทนการเปรียบเทียบ ใช้ M แทนการคูณ เป็นต้น Assembler จะทำหน้าที่แปลโปรแกรมต้นฉบับที่เขียนด้วยภาษา assembly ให้เป็นภาษาเครื่องซึ่งคอมพิวเตอร์สามารเข้าใจได้ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาระดับสูง หรือ ภาษายุคที่สาม เป็นชุดคำสั่งที่มีลักษณะเหมือนคำในภาษาอังกฤษ เช่น ใช้คำสั่ง Add เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์บวก และใช้คำสั่ง Print เพื่อสั่งให้พิมพ์ ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น * แทนการคูณ, + แทนการบวก เป็นต้น เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้ และยังสามารถทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันได้ด้วย (ไม่ผูกติดกับhardware) ภาษาเบสิค ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล และภาษาฟอร์แทรน 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาระดับสูงมาก หรือ ภาษายุคที่สี่ เป็นภาษาอังกฤษเหมือนในยุคที่สาม โปรแกรมเมอร์เพียงเขียนโปรแกรมสั่งว่าต้องการอะไร (what) โดยไม่ต้องเขียนคำสั่งอธิบายว่าต้องทำอย่างไร (how) ดังนั้นการเขียนโปรแกรมภาษายุคที่สี่จึงง่าย สะดวกและรวดเร็ว โปรแกรม Lotus 1-2-3 และ dBASE และภาษาที่ใช้ในการเรียกดูข้อมูลในฐานข้อมูลที่เรียกว่า SQL 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ไม่จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบและโครงสร้างของภาษาอย่างเคร่งครัดเหมือนที่ภาษายุคที่สี่ทำ โปรแกรมภาษาการเรียกดูข้อมูลที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถส่งข้อความต้องการ เป็นคำพูดของภาษามนุษย์ที่เป็นโครงสร้างของภาษาอังกฤษได้ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) SQL Natural Language SELECT FIRST_N, LAST_N FROM STUDENT WHERE GPA > 3.0 TELL ME THE NAMES OF STUDENTS WITH GPA OVER 3.0 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ BASIC 7. HTML Visual Basic 8. XML COBAL PASCAL FORTRAN C and C++ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved BASIC เป็นภาษาที่ถูกออกแบบให้ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรม ย่อมาจาก Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางธุรกิจ ตัวอย่าง : GW-BASIC, QUICKBASIC (QBASIC) 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved Visual Basic นำโครงสร้างของภาษา BASIC มาใช้ และพัฒนาหน้าจอสำหรับออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานโปรแกรม (User Interface) เป็นภาษาที่เข้าใจได้ง่ายและเหมาะสำหรับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved COBAL Common Business Oriented Language นิยมใช้สำหรับงานประยุกต์ทางธุรกิจ เช่น งานจัดเก็บข้อมูล งานประมวลผลทางการเงินและบัญชี ตลอดจนงานสินค้าคงคลัง เป็นต้น 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved PASCAL ใช้สำหรับการสอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับนักศึกษา นำมาพัฒนาให้ใช้ทั้งบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และมินิคอมพิวเตอร์ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved FORTRAN FORmular TRANslator ถูกออกแบบมาให้ทำงานที่มีความซับซ้อนทางคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์ จึงเป็นภาษาที่นิยมใช้กันในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และนักคณิตศาสตร์ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved C & C++ สามารถทำงานด้วยความรวดเร็ว ความยืดหยุ่นของโครงสร้างของไวยากรณ์ที่ง่ายต่อความเข้าใจ ทำให้ภาษาซีได้ถูกนำมาใช้ทั้งงานด้านด้านวิทยาศาสตร์และธุรกิจ ภาษาซียังถูกพัฒนาเป็นภาษา C++ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved HTML Hypertext Markup Language เป็นภาษาที่ใช้สำหรับเขียนเว็บเพจบนอินเทอร์เน็ต โดยสามารเชื่อมโยงกับเอกสารในรูปของข้อความ รูปภาพ วีดีโอ หรือเสียงก็ได้ 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved

copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved HTML CODE <HTML><HEAD><TITLE>TeeNee.com ที่นี่ดอทคอม >>++ เวบแรกที่คุณเลือกเปิด++>></TITLE> <meta http-equiv=Content-Type content="text/html; charset=tis-620"> <META HTTP-EQUIV=EXPIRES CONTENT=0><META LANGUAGE="javascript1.1src="http://truehits.gits.net.th/data/a0000583.js"></SCRIPT> <!-- END WEBSTAT CODE --> </html> 9/16/2018 copyright www.brainybetty.com 2006 All Rights Reserved