โรงเรียนสิรินธร อ.เมือง จ.สุรินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า “ ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
ศูนย์บริการลูกค้า ทีโอที สาขาเลย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Educational Information Technology
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
รายวิชา การบริหารการศึกษา
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนสิรินธร อ.เมือง จ.สุรินทร์ Data Communication การสื่อสารข้อมูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นายธวัชชัย แสงภักดี โรงเรียนสิรินธร อ.เมือง จ.สุรินทร์

การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) คือ การรับ-ส่ง โอน ย้าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนำข้อมูล

1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) องค์ประกอบของการสื่อสาร 2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) 1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) 3. ข้อมูล (Data) 5. โปรโตคอล (Protocol) 4. สื่อนำข้อมูล (Media)

การสื่อสารข้อมูลด้วยโทรศัพท์ การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ Sender Protocol Receiver Protocol Data Medium การสื่อสารข้อมูลด้วยโทรศัพท์

ข้อมูลข่าวสาร (Data) ข่าวสารประกอบด้วยข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้ส่งมอบระหว่างกัน ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อมูลที่ เป็นข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง วิดีโอ หรือมัลติมีเดีย

ผู้ส่ง (Sender) ผู้ส่งในที่นี้หมายถึง อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลข่าวสาร ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น

ผู้รับ (Receiver) ผู้รับ คือ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับรับข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่ง เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ วิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น

สื่อกลาง (Media) หมายถึงสื่อกลางส่งข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร (Transmission media) ซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทสาย เช่น สายเคเบิล สายโทรศัพท์ และสื่อกลางประเภทไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ ซึ่งสื่อกลางดังกล่าวทำหน้าที่ในการให้ข้อมูลสามารถเดินทางจากต้นทางไปยังปลายทางได้

โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล เป็นกฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์นั้นมีความเข้าใจในทิศทางเดียวกันและสามารถสื่อสารกันได้ หากไม่มีโปรโตคอลแล้วอุปกรณ์ทั้งสองอาจจะติดต่อกันได้แต่ไม่สามารถสื่อสารกันได้ เช่นเดียวกันกับมีบุคคล 2 คนที่ต้องการพบปะกัน และเมื่อได้พบกันแล้วแต่กลับสนทนากันไม่รู้เรื่อง เนื่องจากคนหนึ่งพูดภาษาไทยและอีกคนหนึ่งพูดภาษาญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสองได้มีการติดต่อกันแล้วแต่ไม่สามารถสื่อสารระหว่างกันได้อย่างเข้าใจ

พัฒนาการของการของการสื่อสารข้อมูล

ในปัจจุบันนี้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับคนทั่วโลกได้สะดวกมาก แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ การสื่อสารได้มีวิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมัย ซึ่งจะกล่าวถึงวิวัฒนาการของการ สื่อสารตั้งแต่ยุคแรกของมนุษย์ดังนี้ เชื่อกันว่าการสื่อสารระยะไกลของมนุษย์ในยุคแรกๆ น่าจะเป็นการการตีเกราะ เคาะไม้ การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ และการส่งสัญญาณควัน การสื่อสารด้วยการตีกลองให้สัญญาณ

การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ การสื่อสารด้วยสัญญาณควัน 

การสื่อสารกันโดยการเขียนข้อความ  ในกระดาษแล้วผูกติดกับขานกพิลาบ การสื่อสารโดยใช้ม้าเร็ว ถือข้อความไปส่งตามหัวเมืองต่างๆ

1 การสื่อสารด้วยรหัส จากอดีตกาล การสื่อสารต้องอาศัยคนนำสาร มีการถือเอกสารจากบุคคลหนึ่งเดินทางส่งต่อให้กับผู้รับปลายทาง ต่อมามีการสร้างรหัสเฉพาะเพื่อรับรู้กันเฉพาะผู้รับและผู้ส่ง จนเมื่อปี พ.ศ. 2379 แซมมวล มอร์ส (Samuel Morse) สามารถส่งรหัสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วย คลื่นวิทยุ เรียกว่ารหัส มอร์ส ซึ่งเป็นรหัสที่ใช้จุดและขีดเป็นสัญลักษณ์ในการส่งวิทยุ ทำให้เกิดการสื่อสารระยะไกล และในเวลาต่อมาสามารถขยายผลไปใช้ในกิจกรรมวิทยุ และโทรทัศน์ นอกจากนี้รหัส มอร์ส ยังใช้ในการสื่อสารด้วยโทรเลขเป็นระยะเวลานาน

2 การสื่อสารด้วยสายตัวนำ ใน ปี พ. ศ 2 การสื่อสารด้วยสายตัวนำ ใน ปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบล (Alexander Graham Bell) ได้ประดิษฐ์ โทรศัพท์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียงผ่ายทางสายตัวนำทองแดง พัฒนาการเทคโนโลยีนี้ได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ จากเริ่มต้นใช้การสลับสารด้วยคน ต่อมาใช้ระบบการสลับสายแบบอัตโนมัติ ได้พัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ปัจจุบันโครงข่ายตัวนำที่ใช้ในระบบโทรศัพท์เป็นโครงข่ายดิจิทัลจึงทำให้การ ส่งข้อมูลสามารถใช้ร่วมกับแบบอื่นร่วมได้

3 การสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ การ พัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์เริ่มจากมีการประมวลผลแบบรวมศูนย์ (centralized processing) เช่น ใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องเมนแฟรม เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (host) โดยเป็นศูนย์กลางให้ผู้ใช้ใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน แต่ละคนเปรียบเสมือนเป็นสถานีปลายทางที่เรียกใช้ทรัพยากร หรือการคำนวณจากศูนย์กลางและให้ คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อการทำงานนั้น ต่อ มาเมื่อมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล จนเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี (Personal Computer : PC) การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่หลายอย่างรวดเร็ว เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ง่าย เมื่อมีการใช้งานกันมากบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยี

ให้ตอบสนองความต้องการที่สามารถทำงานร่วมกัน เป็นกลุ่ม เครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิธีการหนึ่งและกำลังได้รับความนิยมสูงมาก โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถตอบสนองได้ตรงตามความต้องการในการ ติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้สะดวกและมีการประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวาง เช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูล การสืบค้นและเรียกดูข่าว ผ่านระบบเว็บ การพูดคุย และส่งข้อความถึงกัน เป็นต้น

4 การสื่อสารโดยใช้ดาวเทียม ดาว เทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลกโดยมีเครื่องถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วยการ เคลื่อนที่ของ ดาวเทียมที่เคลื่อนไปพร้อมกับการหมุนของโลกทำให้คนบนพื้นโลกเห็นดาวเทียม อยู่คงที่ การสื่อสารผ่านดาวเทียมทำได้โดยสถานีภาคพื้นดินที่ต้องการสื่อสารจะส่ง ข้อมูลมาที่ดาวเทียม และดาวก็จะส่งข้องมูลต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินปลายทางแห่งหนึ่งหรือหลายแห่ง ก็ได้ การับสัญญาณจะครอบคลุมพื้นที่ที่ดาวเทียมโคจรอยู่ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมากทำ ให้ไม่มีอุปสรรคทางด้านภูมิศาสตร์และเหมาะกับพื้นที่ที่ไม่สามารถติดตั้งสาย ได้ เช่น แนวเขาบังสัญญาณ หรือเกาะที่อยู่กลางทะเล เป็นต้น

5 การสื่อสารด้วยระบบไร้สาย การสื่อสารผ่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กำลังได้รับความนิยมเพราะโทรศัพท์แบบ เคลื่อนที่มีความสะดวก คล่องตัว การสื่อสารแบบนี้ใช้คลื่นสัญญาณวิทยุ โดยผู้ใช้จะติดต่อกับศูนย์กลางสถานีรับส่ง การสื่อสารวิธีนี้มีการวางเป็นเซลครอบพื้นที่ต่างๆ ไว้ จึงเรียกระบบโทรศัพท์ ไร้สายแบบนี้ว่า เซลลูลาร์โฟน (cellular phone) พัฒนาการของระบบไร้สายยังได้รับการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ อีกหลายอย่าง เช่น ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า แลนไร้สาย และระบบการส่งข้อความ (paging) เป็นต้น

คำถามท้ายบท 1. การสื่อสารข้อมูลหมายถึงอะไรจงอธิบาย 2.จงบอกองค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลมีกี่อย่างอะไรบ้าง 3.นักเรียนคิดว่าในอดีตมนุษย์มีการสื่อสารกันแบบใดบ้างจงอธิบาย 4.ระบบสื่อสารแบบไร้สายปัจจุบันอยู่ในยุคใด และมีคุณสมบัติอย่างไร 5. โปรโตคอล (Protocol) คืออะไรจงอธิบาย 6. นักเรียนคิดว่าถ้าไม่มีการติดต่อสื่อสารจะเกิดอะไรขึ้นจงอธิบาย 7. เมื่อนักเรียนต้องการสื่อสารกับเพื่อนต่างชาตินักเรียนจะใช้วิธีการใด