การประชุมชี้แจงสนามสอบ O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การประชุมซักซ้อมและเตรียมการ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผลปฏิบัติงานในรอบ TOR 2/60 กุมภาพันธ์ – กรกฎาคม 2560
การบริหารการทดสอบ O-NET
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-4
จังหวัดสมุทรปราการ.
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจงสนามสอบ O-NET ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2559 โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

สรุปข้อมูลการจัดสอบ O-NET ชั้น ป.6 และ ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2558

สรุปข้อมูลการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558 รายละเอียด ชั้น ป.6 ชั้น ม.3 จำนวนผู้เข้าสอบ 791,972 711,243 จำนวนศูนย์สอบ 267 308 จำนวนสนามสอบ 4,710 4,712 จำนวนห้องสอบ 29,108 26,011 จำนวนโรงเรียน 31,502 11,952

จำนวนผู้เข้าสอบ-ขาดสอบ ชั้น ม.3 รายวิชา จำนวน ผู้มีสิทธิ์สอบ จำนวนคนเข้าสอบ คนขาดสอบ ไม่ประกาศ ผลสอบ ไม่ทำข้อสอบ เด็กพิเศษ Walk in , ไม่ระบุโรงเรียน ร้อยละ 91 ภาษาไทย 711,243 656,817 92.35 34,538 20 7 17,562 2,280 92 สังคมศึกษา 656,724 92.33 34,650 11 17,544 2,275 93 ภาษาอังกฤษ 656,701 34,658 6 17,558 2,281 94 คณิตศาสตร์ 656,491 92.30 34,879 12 17,547 95 วิทยาศาสตร์ 656,463 34,926 9 17,537 2,269

ผลสรุปจากตัวแทน สทศ.

บทสรุปจากตัวแทน สทศ. การปฏิบัติงานของคณะกรรมการระดับสนามสอบส่วนใหญ่ปฏิบัติตามแนวทางที่ สทศ. กำหนดในคู่มือฯ อย่างเคร่งครัด การดำเนินการจัดสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีเพียงบางสนามสอบเท่านั้นที่ไม่เคร่งครัดในบางขั้นตอน

บทสรุปจากตัวแทน สทศ. ก่อนการสอบ ด้านสถานที่ บางสนามสอบห้องกรรมการกลางอยู่ใต้อาคารโล่งแจ้ง เสี่ยงต่อการปลิวของเอกสาร ห้องสอบแออัดเกินไป เนื่องจากเอาโต๊ะเก้าอี้จัดไว้หลังห้อง กรรมการคุมสอบรับแบบทดสอบไปแล้วไม่ไปห้องสอบ มีการแวะดื่มกาแฟ ทำธุระส่วนตัว กรรมการคุมสอบบางห้องมารับข้อสอบช้า

บทสรุปจากตัวแทน สทศ. ก่อนการสอบ 5. บางห้องสอบยังมีบอร์ดความรู้ในห้องสอบ มีการใช้โต๊ะยาวนั่งได้ 3 คน มาเป็นโต๊ะสอบ

บทสรุปจากตัวแทน สทศ. ระหว่างการสอบ ผู้เข้าสอบพูดคุย สอบถาม บอกคำตอบกัน กรรมการคุมสอบไม่ตรวจอุปกรณ์และหลักฐานก่อนเข้าห้องสอบ กรรมการคุมสอบออกมาคุยกันหน้าห้องสอบ กรรมการคุมสอบแจกกระดาษคำตอบผิด

บทสรุปจากตัวแทน สทศ. ระหว่างการสอบ กรรมการคุมสอบบางท่านมีพฤติกรรมช่วยเหลือผู้เข้าสอบ และเอื้อต่อผู้เข้าสอบในการทุจริต กรรมการคุมสอบบางห้องเก็บแบบทดสอบก่อนหมดเวลา

บทสรุปจากตัวแทน สทศ. หลังเสร็จสิ้นการสอบ กรรมการกลางไม่ติดสติ๊กเกอร์แบบทำลายตัวเองในทันที บางสนามสอบรอปิดพร้อมกันทั้ง 5 วิชา กรรมการกลางนำแบบทดสอบที่ผ่านการสอบแล้วมาทำ กรรมการกลางตรวจนับกระดาษคำตอบไม่ครบถ้วน ต้องแกะซองกระดาษคำตอบใหม่

สรุปปัญหาในการรับกระดาษคำตอบ 5. แจ้งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบในเอกสาร O-NET 3 ผิด 6. ใส่กล่องกระดาษคำตอบผิดระดับชั้น 7. ไม่ส่ง O-NET 3 8. ไม่ติดสติ๊กเกอร์ที่ซองกระดาษคำตอบ 9. ใช้แบบฟอร์มผิดปีการศึกษา

ข้อมูลเลขประชาชนซ้ำในระบบ O-NET ปีการศึกษา 2558 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1,493 คน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1,690 คน ลักษณะ คือ 1. ข้อมูลที่ซ้ำกันในจังหวัดเดียวกัน 2. ข้อมูลที่ซ้ำข้ามจังหวัด สาเหตุ เกิดจากการที่โรงเรียนไม่แจ้งลดเด็กในระบบ หรือเด็กอาจมีการย้ายโรงเรียนหลังจากปิดระบบแล้ว

ปัญหาที่พบในการตรวจกระดาษคำตอบ ฝนด้วยปากกา 1 นั่งสอบผิดที่ 2 ขาดสอบแต่ไม่ฝนขาดสอบ 3 ขาดสอบแต่ฝนยกเลิก 4 มาสอบแต่ฝนยกเลิก 5 มาสอบแต่ฝนขาดสอบ 6 มาสอบกระดาษคำตอบหาย 7 ไม่ฝนรหัสชุดวิชา 8

ปัญหาการจัดการระดับสนามสอบ กรรมการคุมสอบไม่ตรวจสอบหลักฐานผู้เข้าสอบ ทำให้เกิดกรณีผู้เข้าสอบมีความซ้ำซ้อนหรือการนั่งแทนกัน 2. โรงเรียนให้นักเรียนมานั่งสอบแทนคนที่ขาดสอบ

การแจ้งเรื่องกรณีความไม่โปร่งใส ในการจัดสอบ O-NET ครูบอกคำตอบในห้องสอบ 1 สนามสอบแก้ไขกระดาษคำตอบ 2 ศูนย์สอบสั่งสนามสอบให้ทุจริต 3

การบริหารการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2559

วัตถุประสงค์ในการทดสอบ 1. เพื่อทดสอบความรู้และความคิดรวบยอดของนักเรียนชั้นป.6 และ ม.3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 2. เพื่อนำผลการสอบไปใช้เป็นส่วนประกอบหนึ่งของการสำเร็จ การศึกษา 70 : 30 3. เพื่อนำผลการสอบไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนในโรงเรียน 4. เพื่อนำผลการทดสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ วัตถุประสงค์

การประกาศผลสอบ วันที่ 25 มีนาคม 2560 ชั้น ป.6 วันที่ 26 มีนาคม 2560 ชั้น ม.3 ศูนย์สอบและสถานศึกษาใช้ user name และ password เพื่อเข้าระบบ นักเรียนดูผลคะแนนเป็นรายบุคคลโดยใช้รหัสประจำตัวประชาชน

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 1. การจัดสนามสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้จัดสนามสอบโดยกำหนด 1 กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน เป็น 1 สนามสอบ (กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนอาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น กลุ่มคุณภาพ กลุ่มประสิทธิภาพ กลุ่มโรงเรียน) โดยรวมโรงเรียนในกลุ่มทั้งหมดแล้วศูนย์สอบพิจารณาเลือกโรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่งในกลุ่มที่มีความเหมาะสมเป็นสนามสอบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้จัดสนามสอบโดยกำหนด 1 อำเภอหรือกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเป็น 1 สนามสอบ

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 2. การแต่งตั้ง ตัวแทนศูนย์สอบ ไปประจำที่สนามสอบ ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งตัวแทนศูนย์สอบไปประจำที่สนามสอบ โดยให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากรภายในศูนย์สอบ ครูต่างเครือข่ายที่มีคุณสมบัติเหมาะสมหรือจากหน่วยงานอื่นๆ ตามความเหมาะสม อัตรา 2 คน/ สนามสอบ เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลความเรียบร้อยภายในสนามสอบและทำหน้าที่ในการรับ-ส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 3. การแต่งตั้งตัวแทน สทศ.ประจำสนามสอบ ในวันสอบจะมีบุคลากร ครู อาจารย์และนักศึกษาระดับปริญญาเอก โท ตรี หรือนิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยของรัฐ เข้าสังเกตการปฏิบัติงานของสนามสอบและรายงานผลให้สถาบันทดสอบฯ ทราบ

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 4. การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ตำแหน่งหัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ จากต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่เป็นสนามสอบทั้งชุดโดยใช้วิธีการหมุนไขว้กัน

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 5. การรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ ศูนย์สอบต้องเก็บรักษากล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบในห้องมั่นคงหรือห้องที่ปิดมิดชิด มีผู้ที่คอยดูแลตลอดเวลา ก่อนส่งมอบให้ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบไปให้สนามสอบในตอนเช้าวันสอบ หลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้รับผิดชอบนำกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. พร้อมเอกสารประกอบการสอบ ส่งมอบให้ศูนย์สอบหลังเสร็จสิ้นการสอบ

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 6. กล่องบรรจุแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบ กล่องบรรจุแบบทดสอบต้องปิดแน่นหนาแล้วปิดทับด้วยเทปกาวเฉพาะของ สทศ. และมัดด้วยสายรัดเฉพาะของ สทศ. โดยสทศ. อนุญาตให้หัวหน้าสนามสอบเปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบได้ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนถึงเวลาสอบ ต่อหน้ากรรมการกลางและตัวแทนศูนย์สอบ

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 7. จำนวนชุดข้อสอบที่ใช้ ข้อสอบแต่ละวิชามีจำนวน 6 ชุด ในแต่ละชุดจะมีการจัดเรียงลำดับข้อที่แตกต่างกัน โดยข้อสอบได้จัดสลับชุดข้อสอบไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว กรรมการคุมสอบต้องแจกเป็นรูปตัว U ตามที่ สทศ.กำหนด

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 8. การติดตามการบริหารการทดสอบ สทศ. ร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการติดตามการบริหารการทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ โดยคณะทำงานจะเข้าตรวจเยี่ยมศูนย์สอบและ สนามสอบ ในช่วงก่อนวันสอบ วันสอบและหลังวันสอบ

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 9. การรับแจ้งเรื่องร้องเรียน เรื่องความไม่โปร่งใสในการสอบ 1 สายตรงผู้บริหาร 2 จดหมาย 3 E-mail : testing@niets.or.th 4 call center 0-2217-3800

แนวปฏิบัติเพื่อความโปร่งใสในการจัดสอบ ปีการศึกษา 2559 10. ระเบียบ สทศ. ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 สทศ. ขอให้บุคลากรประจำสนามสอบปฏิบัติตามระเบียบของสทศ. ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการทดสอบ พ.ศ.2557 อย่างเคร่งครัด เพี่อให้การทดสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ

ตัวแทนศูนย์สอบ ตัวแทนศูนย์สอบ ให้ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งจากบุคลากรภายในศูนย์สอบ ครูต่างเครือข่ายหรือจากหน่วยงานอื่นๆที่มีคุณสมบัติเหมาะสม (ทั้งด้านคุณวุฒิและวัยวุฒิ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย มีความซื่อสัตย์และเป็นผู้นำที่ดี) จำนวนตัวแทนศูนย์สอบให้ใช้อัตรา 2 คนต่อสนามสอบ

บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ 1. รับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกล่องกระดาษคำตอบระหว่างศูนย์สอบกับสนามสอบ 2. กำกับการเปิดกล่องแบบทดสอบให้ตรงตามตารางสอบและเวลาที่กำหนด ร่วมกับหัวหน้าสนามสอบ และกรรมการกลาง 3. เมื่อกรรมการกลางตรวจนับกระดาษคำตอบครบถ้วนและบรรจุใส่ซองพร้อมทั้งปิดผนึกซองกระดาษคำตอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้ตัวแทนศูนย์สอบเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ปิดเทปกาวพิเศษแบบทำลายตนเองที่ปากซองกระดาษคำตอบ พร้อมทั้งลงชื่อกำกับที่หน้าซองกระดาษคำตอบ

บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ กำกับ ดูแลการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามมาตรฐานการทดสอบ กำกับการบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องทันทีหลังเสร็จสิ้นการสอบแต่ละวิชา และปิดผนึกกล่องกระดาษคำตอบกลับด้วยเทปกาวของ สทศ. พร้อมทั้งให้ตัวแทนศูนย์สอบลงชื่อที่ใบปะหน้ากล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.

บทบาทหน้าที่ของตัวแทนศูนย์สอบ นำกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับที่ปิดผนึกเป็นที่เรียบร้อยแล้วส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ห้ามทิ้งกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบไว้ที่สนามสอบ รายงานการจัดสอบของสนามสอบให้ศูนย์สอบทราบตามเอกสารรายงานการปฏิบัติงานของตัวแทนศูนย์สอบ

การบริหารการจัดสอบ ระดับสนามสอบ การบริหารการจัดสอบ ระดับสนามสอบ ปีการศึกษา 2559

การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ เป็นประธานศูนย์เครือข่าย/ ผู้อำนวยการต่างโรงเรียน หรือผู้ที่ศูนย์สอบพิจารณาแต่งตั้งตามความเหมาะสม หัวหน้าสนามสอบ อัตรา 1 คน : 3 ห้องสอบ (หากไม่ถึง 3 ห้องสอบแต่งตั้งได้ 1 คน) กรรมการกลาง อัตรา 2 คน : 1 ห้องสอบ ต้องไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง และทั้งสองคนต้องมาจากต่างโรงเรียนกัน กรรมการคุมสอบ ครู อาจารย์ ผู้บริหารของโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานเรื่องอาคารสถานที่ โดยไม่ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการสอบ เจ้าหน้าที่ประสานงานประจำสนามสอบ

การแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ครู อาจารย์โรงเรียนที่เป็นสนามสอบ เพื่อทำหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์การสอบ โดยไม่ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการสอบ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ครู อาจารย์โรงเรียนที่เป็นสนามสอบดูแล รักษาและบรรเทาอาการเจ็บปวดหรือบาดเจ็บของผู้เข้าสอบภายในสนามสอบ โดยไม่ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการสอบ เจ้าหน้าที่พยาบาล อัตรา 1 คน : 5 ห้องสอบ (ขั้นต่ำ 1 คนต่อสนามสอบ) นักการ ภารโรง เช่น เจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่อื่นๆ

การแต่งตั้งบุคลากรประจำสนามสอบ ศูนย์สอบต้องแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ซึ่งหัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ ให้ใช้สลับกลุ่มกัน (อาจสลับระหว่างกลุ่มเครือข่าย กลุ่มอำเภอ หรือ กลุ่มสนามสอบ) กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบต้องมาจากต่างโรงเรียนและจะต้องไม่คุมสอบนักเรียนตนเอง ซึ่งบุคลากรทุกตำแหน่งในสนามสอบจะต้องเป็นบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากประธานศูนย์สอบ การประสานงานเรื่องการแต่งตั้งบุคลากรประจำสนามสอบ โรงเรียนที่ได้เป็นสนามสอบสามารถประสานงานโดยตรงไปที่ศูนย์สอบที่รับผิดชอบ  

การแต่งตั้งคณะทำงานระดับสนามสอบ

คุณสมบัติของกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ ตำแหน่งกรรมการคุมสอบและกรรมการกลาง ต้องเป็นข้าราชการครูหรือบุคลากรทางการศึกษาระดับ 3 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า หรือพนักงานประจำตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป เป็นบุคลากรต่างโรงเรียน/ต่างกลุ่มเครือข่าย/ต่างอำเภอ สลับไขว้กัน 3. ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน

คุณสมบัติของกรรมการกลางและกรรมการคุมสอบ 4. มีความรับผิดชอบ 5. ตรงต่อเวลา 6. เก็บรักษาความลับได้เป็นอย่างดี 7. ปฏิบัติตามระเบียบและข้อกำหนดอย่างเคร่งครัด 8. มีความละเอียด ถี่ถ้วน รอบคอบและให้ความสำคัญในเอกสารที่เกี่ยวข้อง

บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ หัวหน้าสนามสอบ/กรรมการกลาง/กรรมการคุมสอบ ต้องปฏิบัติตามแนวนโยบายที่สถาบันทดสอบฯ กำหนดไว้ในคู่มือการจัดสอบอย่างเคร่งครัดเพื่อให้การดำเนินการในทุกสนามสอบเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ และเป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ

บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-2) ประสานงานกับศูนย์สอบ และดำเนินการตามนโยบายและแนวปฏิบัติของศูนย์สอบอย่างเคร่งครัด กรอกข้อมูลห้องสอบผ่านระบบทางเว็บไซต์ http://www.niets.or.th ภายในเวลาที่ สทศ. กำหนด เสนอชื่อคณะกรรมการที่ทำงานในระดับสนามสอบ ให้ศูนย์สอบพิจารณาอนุมัติแต่งตั้ง

บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-3) เตรียมความพร้อมก่อนการจัดสอบ เกี่ยวกับสถานที่สอบและห้องสอบ การประชาสัมพันธ์การสอบ การประกาศรายชื่อและเลขที่นั่งสอบ ดำเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีความยุติธรรม และเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ สทศ. กำหนด

บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-4) รวบรวมกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบในแต่ละห้องสอบให้ครบถ้วนไม่ให้ตกหล่นที่สนามสอบ เพื่อรักษาผลประโยชน์ให้กับผู้เข้าสอบ รวมทั้งส่งคืนแบบทดสอบทุกฉบับกลับคืน สทศ. ประสานงานกับศูนย์สอบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าตอบแทนและรายงานสรุปการดำเนินการจัดสอบระดับสนามสอบให้ศูนย์สอบทราบ

บทบาทหน้าที่ของสนามสอบ (ต่อ-5) รายงานค่าสถิติจำนวนผู้เข้าสอบหลังเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวิชา ผ่าน www.niets.or.th / ระบบรายงานสถิติจำนวนผู้เข้าสอบ / ใส่ Username และ Password ของสนามสอบ

ข้อเน้นย้ำสำหรับปีการศึกษา 2559

2. แบบทดสอบ แบบทดสอบมีรหัสชุดข้อสอบแตกต่างกัน 6 ชุด ในแต่ละวิชาและ สทศ. ได้จัดเรียงสลับชุดไว้แล้ว ให้กรรมการคุมสอบแจกให้ผู้เข้าสอบตามลำดับที่นั่งสอบเป็นรูปตัว U

แบบทดสอบ (ต่อ) 1. กรรมการคุมสอบ ต้องตรวจสอบว่าผู้เข้าสอบระบายและกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ตนเองได้รับถูกต้อง 2. ห้ามกรรมการคุมสอบหรือบุคคลอื่นมีการอ่านและวิเคราะห์แบบทดสอบ 3. ขอให้กรรมการคุมสอบแจกแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ เป็นรูปตัว U ไม่ต้องดำเนินการสลับแบบทดสอบ ด้วยตนเอง 4. กรรมการคุมสอบต้องกำกับให้ผู้เข้าสอบกรอก ข้อมูลบนปกแบบทดสอบ เพื่อเป็นหลักฐาน สำหรับการตรวจสอบ

3. การจัดที่นั่งสอบและการแจก-เก็บรูปตัว U หน้าห้อง โต๊ะกรรมการ 1 1 12 13 24 25 2 11 14 23 26 3 10 15 22 27 4 9 16 21 28 5 8 17 20 29 6 7 18 19 30 โต๊ะกรรมการ 2

4. กระดาษคำตอบแบบลงข้อมูล

5. กระดาษคำตอบสำรอง

6. ระบายรหัสชุดข้อสอบบนกระดาษคำตอบ กรรมการคุมสอบกำกับให้ผู้เข้าสอบระบายชุดข้อสอบที่ ได้รับให้ถูกต้องบนกระดาษคำตอบ

7. กรอกรหัสชุดข้อสอบบน สทศ.2 กรรมการคุมสอบกำกับให้ผู้เข้าสอบกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ได้รับให้ถูกต้องในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2)

7. การกรอก–ระบายรหัสชุดข้อสอบ 7. การกรอก–ระบายรหัสชุดข้อสอบ ได้รหัสชุดข้อสอบใด ระบายและกรอกรหัสชุดข้อสอบที่ได้รับ ให้ตรงกันทั้งหมด

8.การบรรจุกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ ให้บรรจุในซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ สทศ. จัดเตรียมให้เฉพาะต่างหากวิชาละ 1 ซอง หากในสนามสอบนั้นๆ ไม่มีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ สนามสอบต้องส่งซองกระดาษคำตอบกลับสำหรับผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (ที่ไม่ได้ใช้) คืน สทศ. โดยให้บรรจุอยู่ในกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ.......( ไม่ต้องนำกระดาษคำตอบสำรองที่ไม่ได้ใช้ใส่ในซองนี้คืน สทศ.)

9. การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) ให้สนามสอบบรรจุซองกระดาษคำตอบใส่กล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษ คำตอบกลับ สทศ.) โดยใช้ 1 วิชาต่อ 1 กล่อง ห้ามรวมรายวิชา 1. กล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) คือ กระดาษรูปกากบาทที่ สทศ.จัดส่งให้ โดยสนามสอบต้องนำมาขึ้นรูปเพื่อทำเป็นกล่องบรรจุซองกระดาษคำตอบ 2. การบรรจุซองกระดาษคำตอบใช้ 1 กล่องต่อรายวิชา และแยกตามระดับชั้น

9. การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) 3. ใบปะหน้ากล่องกระดาษคำตอบเพื่อส่งกลับ สทศ. ได้แยกเป็นรายวิชาที่จัดสอบ สนามสอบต้องนำมาติดให้ถูกต้อง และระบุจำนวนซองกระดาษคำตอบที่บรรจุอยู่ในกล่องให้ถูกต้อง 4. สทศ.จัดทำเทปกาวของ สทศ. เพื่อใช้ในการติดกล่องกระดาษคำตอบกลับเพื่อส่ง สทศ. โดยจัดเตรียมไว้ 3 เส้นต่อ 1 กล่อง 5. ตัวแทนศูนย์สอบนำกล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ที่ปิดผนึกเป็นที่เรียบร้อยแล้วส่งศูนย์สอบหลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวัน ห้ามทิ้งกล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ไว้ที่สนามสอบ

9. การบรรจุซองกระดาษคำตอบลงกล่องปรับขนาด (กล่องสำหรับบรรจุซองกระดาษคำตอบกลับ สทศ.) 6. สนามสอบต้องกรอกข้อมูลบนใบปะหน้ากล่องให้ครบถ้วน และให้หัวหน้าสนามสอบลงนามให้เรียบร้อย พร้อมทั้งส่งมอบให้กับตัวแทนศูนย์สอบตรวจดูความเรียบร้อยของกล่องและลงนามที่ใบปะหน้ากล่อง เส้นที่ 1 เส้นที่ 2 เส้นที่ 3

ภาพแสดง เทปกาว สทศ. สำหรับติดกล่องกระดาษคำตอบ เส้นที่ 2 , 3 ใช้สำหรับ ติดด้านข้างทั้งสองด้าน เส้นที่ 1 ใช้สำหรับติดด้านยาว

10. การรวบรวมเอกสารการจัดสอบส่ง สทศ. ให้สนามสอบรวบรวม สทศ.5 และ สทศ.6 ใส่ซองเอกสารสีน้ำตาล นำส่งศูนย์สอบพร้อมกล่องกระดาษคำตอบ และศูนย์สอบรวบรวมซองเอกสารพร้อมกล่องกระดาษคำตอบให้กับ สทศ. ในวันที่ไปรับกระดาษคำตอบ

ระเบียบการเข้าห้องสอบ ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไม่มีบัตรแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น ห้าม นำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ ให้นั่งสอบจนหมดเวลา อนุญาต ให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดูเวลาเท่านั้น)

การสอบซ่อม O-NET ม.3 - สมัครสอบซ่อมกับ สทศ. หลังการสอบประมาณ 1-2 สัปดาห์ - โรงเรียนสมัครให้เด็ก /มีค่าใช้จ่าย / มีเอกสารแสดงเหตุจำเป็น - สทศ.จะแจ้งรายละเอียดหลังสอบ 1-2 สัปดาห์ทางเว็บไซต์ Website : www.niets.or.th