การนำเสนอผลงานด้วย Power Point เทคนิคเบื้องต้น การนำเสนอผลงานด้วย Power Point
หัวข้อการนำเสนอ สื่อการนำเสนอผลงาน ทำไมต้อง Power Point ? การจัดวางรูปแบบสไลด์ การออกแบบสไลด์ การเตรียมตัวนำเสนอ สรุป
สื่อการนำเสนอ กระดานขาว หรือดำ ปิ้งแผ่นใส สไลด์ 35 มม. คอมพิวเตอร์ (Power Point)
การนำเสนอโดย Power point ต้องมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เสียเวลาในการเรียนวิธีใช้โปรแกรม ยุ่งยากต่อการออกแบบสไลด์ ต้องการเครื่องฉายสไลด์
ทำไมต้อง Power point ? แก้ไขข้อความได้ง่าย ภาพที่ออกมาคมชัด ง่ายต่อการควบคุมการเปลี่ยนสไลด์ เพิ่มภาพประกอบได้ ใส่ภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียงได้ พิมพ์ออกเพื่อเตรียมตัวนำเสนอ
ขบวนการผลิตสื่อโดย Power Point สร้าง ออกแบบ เก็บ นำเสนอ พิมพ์
ส่วนประกอบในสไลด์ แผ่นสไลด์ ตัวอักษร ภาพประกอบ กราฟ Flow Chart ตาราง ภาพเคลื่อนไหว เสียง
การวางรูปแบบของสไลด์ ใช้รูปแบบ Slide 35 mm วางแนวนอน ใช้ Templates ที่มีในโปรแกรม เว้นขอบทั้ง 4 ด้านให้ว่าง ~ 0.5 นิ้ว เนื้อหาจัดให้อยู่กลางสไลด์
การจัดขนาดของสไลด์
การใช้ตัวอักษรประกอบ ใช้ข้อความแทนประโยค มีข้อมูลมาก ควรจัดให้เป็นหัวข้อ ใช้ Key word เพื่อเพิ่มจุดสนใจ
วัตถุประสงค์ (ไม่เหมาะสม) ศึกษาการประเมินการพังทลายดินเชิงพื้นที่ตามสภาพภูมิประเทศ ดิน ฝน และการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยเน้นปัจจัยทางด้านสภาพภูมิประเทศและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ พร้อมทั้งเปรียบเทียบสถานการณ์การพังทลายดินที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินระหว่างปี พ.ศ. 2526 และ 2543
วัตถุประสงค์ (เหมาะสม) ศึกษาการพังทลายดินเชิงพื้นที่ตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน เปรียบเทียบสถานการณ์การพังทลายดินจากอดีตถึงปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2526 - 2543)
การใช้ภาพประกอบ ภาพที่ใช้ต้องช่วยเสริมข้อความที่เสนอ ไม่ควรมีอักษรในภาพถ้าไม่จำเป็น ตัวอักษรที่ใช้ควรให้เงาเพื่อเพิ่มความชัด ลดสิ่งที่ทำให้เกิดความยุ่งเหยิง ภาพที่ใช้อาจทำให้ขนาดของแฟ้มข้อมูลใหญ่เกินไป
การสร้างเขตลุ่มน้ำโดยการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ ตัวอย่างการใช้ภาพ การสร้างเขตลุ่มน้ำโดยการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ จำนวนลุ่มน้ำย่อย จุดรวมน้ำ (Outlet) หรือ ปริมาณน้ำสะสมที่กำหนด ความลาดชันและทิศทางความลาดชัน
การจำแนกฝนตามลักษณะความเข้มข้น ตัวอย่างการใช้ภาพ การจำแนกฝนตามลักษณะความเข้มข้น Intermediate Pattern เดือน ความเข้มฝน Delayed Pattern เดือน ความเข้มฝน
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับการพังทลายดิน ตัวอย่างการใช้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนกับการพังทลายดิน
ตัวอย่างการใช้ Flow Chart ตัวการที่ทำให้อนุภาคดินแตกกระจาย (Detaching Agents) ขบวนการผุกร่อนของดิน (Weathering) การกัดเซาะ (Detachment) ตัวการการพัดพา (Transporting Agents) การพัดพา (Transportation) การทับถม (Deposition)
ตัวอย่างการใช้ตาราง การใช้ประโยชน์ ที่ดิน ปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2526 พื้นที่ (ไร่) การสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี) * ป่า 10694 0.0 13651 1.1 ข้าวนาดำ 148 8.3 196 0.02 ไม้ผล 502 9.9 ผัก / พืชไร่ 3668 -27.6 1520 -45.7 พื้นที่เปิด 12 -79.9 13 -103.7 ถนน 141 -108.6
แนวทางการออกแบบสไลด์ สื่อถึงเนื้อหาที่นำเสนอ หนึ่งสไลด์ต่อหนึ่งความคิด ชัดเจนและสะดวกต่อการอ่าน ความสมดุลและคงเส้นคงวา ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น
สีและตัวอักษร พื้นมืดตัวอักษรสว่าง เงาของตัวอักษรต้องมืดกว่าสีพื้น ตัวอักษรต้องอ่านง่าย ชนิดตัวอักษร True Type Font ใช้ 1 หรือ 2 ชนิดของตัวอักษร ขนาด 36 – 60 point + ตัวหนา
ตัวอย่างสีพื้น
อาจมีผลกระทบต่อสายตาผู้ฟัง ความคมชัดสำคัญ แต่ชัดมากไป อาจมีผลกระทบต่อสายตาผู้ฟัง
พยายามหลีกเลี่ยงพื้นสีขาว ความคมชัดสำคัญ แต่ พยายามหลีกเลี่ยงพื้นสีขาว
บางคนนิยมโทนสีสว่าง แต่อ่านค่อนข้างยาก อาจทำให้ดูแล้วตาลาย แม้กระทั่งตัวอักษรที่มีเงา
ตัวอย่างอักษรเงา None - Shadowed Text Shadowed Text
ชนิดตัวอักษร Time New Roman Arial Cordia New FreesiaUPC AngsanaUPC
ขนาดตัวอักษร Cordia New 60 point Cordia New 54 point
หัวเรื่อง 60 point เนื้อหาควรมีขนาดตั้งแต่ 36 points ถึงขนาด 50 point และควรเป็นตัวหนา
การให้สีตัวเลขในตาราง การใช้ประโยชน์ ที่ดิน ปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2526 พื้นที่ (ไร่) การสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี) * ป่า 10694 0.0 13651 1.1 ข้าวนาดำ 148 8.3 196 0.02 ไม้ผล 502 9.9 ผัก / พืชไร่ 3668 -27.6 1520 -45.7 พื้นที่เปิด 12 -79.9 13 -103.7 ถนน 141 -108.6
สีและตัวอักษร (ต่อ) ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ เนื้อหาต้องไม่แน่นจนเกินไป สูงสุด 8 บรรทัดต่อ 1 สไลด์ หลีกเลี่ยงการใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด (อังกฤษ)
ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ ตัวอย่างตัวอักษรตัดขอบ ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้
ตัวอย่างการใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ Spatially-explicit Soil Erosion SPATIALLY-EXPLICIT SOIL EROSION
การเตรียมตัวนำเสนอ ศึกษาข้อมูลทั่วไปสำหรับการนำเสนอ ศึกษาวิธีการควบคุม Slide Show นำเสนอผลงาน
ศึกษาสภาพแวดล้อมทั่วไป ผู้เข้าฟังการบรรยาย... ใคร... จำนวน ความสว่างของห้องบรรยาย เครื่องเสียง เช่น ไมโครโฟน ตำแหน่งของ LCD ที่ใช้นำเสนอ ตำแหน่งที่จะยืนสำหรับการนำเสนอ
การควบคุม Slide show เก็บ File นามสกุล .pps ซ่อนจอโดยใช้ ‘B’ หรือ ‘W’ ข้ามไปยังสไลด์ที่ต้องการ “ตัวเลข ตามด้วย ENTER” ใช้ ‘Page Up’ หรือ ‘Page Down’ ในการเลื่อนสไลด์ ความเชื่อมต่อระหว่างสไลด์
การควบคุม Slide show (ต่อ) ปิดการทำงานของ Screen Saver ปิดการทำงานของการประหยัดพลังงาน (Notebook Computer) ปรับความคมชัดของจอให้เหมาะสม ปรับคุณภาพของตัวหนังสือ เก็บ File ที่จะนำเสนอใน Hard Disk
สรุป มีหัวเรื่องทุกสไลด์ ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ และหลายรูปแบบ สีและรูปแบบตัวอักษรไม่ควรมากเกินไป พื้นสไลด์ไม่ควรยุ่งเหยิง หัวข้อย่อยไม่ควรมากกว่า 6 หัวข้อต่อสไลด์ ลำดับความสำคัญของหัวข้อย่อย
สรุป (ต่อ) ใช้กราฟเมื่อต้องการเปรียบเทียบ ดูแนวโน้ม และแสดงความสัมพันธ์ ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น ควรเว้นช่องไฟให้เหมาะสม เพิ่มข้อมูลที่ขาดหายไปเมื่อจำเป็น