การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางและการพัฒนา Cyber Education
Advertisements

รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Educational Policies.
แผนการขับเคลื่อน กรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
เทคโนโลยีการศึกษายุคอีนำไอ้
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
Teaching & Learning Technology Development Center Technology Innovation for Education UNIVERSITY OF WISCONSIN – EAU CLAIRE By Srithon Meetam
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
2nd SHARE Workshopon the Impact of Qualifications Frameworks and Learning Outcomes on Higher Education In ASEAN Curriculum Design Using the Outcome-based.
ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
Innovation and Information Technology in Education
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
Project based Learning
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
กฎหมายการศึกษาไทย.
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
PRE 103 Production Technology
ระดับสถาบัน ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ.
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
การดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
วัตถุประสงค์การวิจัย
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
เนื้อหาที่สำคัญของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฉบับที่ 3 พ.ศ มีดังนี้ มาตรา 13 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา.
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐ Driving Thailand 4.0 and Higher Education Teaching and Learning Development ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ (สุขุมวิท ๑๑) กรุงเทพมหานคร วันพฤหัสบดีที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐

สถาบันอุดมศึกษาถือเป็นแหล่งพัฒนาคน และองค์ความรู้ที่สำคัญยิ่ง บัณฑิตที่มีคุณภาพ จะเป็นกลไกที่สำคัญอันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศตามทิศทางที่วางไว้ ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการการเรียนการสอนโดยอาจารย์ที่มีความเข้าใจ และมีความมุ่งมั่นในการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ2552 (Thailand Qualifications Framework-TQF)

TQF กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้บัณฑิตมีอย่างน้อย 5 ด้าน ดังนี้ 1 TQF  กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้บัณฑิตมีอย่างน้อย 5 ด้าน  ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม (Ethics and Moral)  หมายถึง  การพัฒนานิสัยในการประพฤติอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม  ความสามารถในการปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม  การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตามศีลธรรมทั้งในเรื่องส่วนตัวและสังคม 2. ด้านความรู้ (Knowledge)  หมายถึง  ความสามารถในการเข้าใจ  การนึกคิดและการนำเสนอข้อมูล  การวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลักการ  ทฤษฎี  ตลอดจนกระบวนการต่างๆ  และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills)  หมายถึง  ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์และใช้ความรู้  ความเข้าใจ  ในแนวคิด  หลักการ  ทฤษฎี  และกระบวนการต่างๆ  ในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาเมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ ที่ไม่ได้คาดคิดมาก่อน 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal skills and responsibility)  หมายถึง  ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การแสดงถึงภาวะผู้นำ  ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical analysis skills, communication and information technology skills)  หมายถึง  ความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข  ความสามารถในการใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ  ความสามารถในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดกรอบมาตรฐานให้สถาบันอุดมศึกษา และอาจารย์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โดยครอบคลุมอย่างน้อย ๕ ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ และสติปัญญาความคิด ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านการวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วาม

ทศวรรษที่ 2 ของศตวรรษที่ 21 เป็นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก การจัดการอุดมศึกษาจึงต้องพัฒนาบัณฑิตให้ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของความรู้และศาสตร์ต่างๆ ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ตลอดจนจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเองอันจะนำไปสู่การพัฒนาพลังปัญญาที่เข้มแข็ง สมาคมเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท) ได้ทำงานในลักษณะของเครือข่ายเพื่อสนับสนุนอาจารย์จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ในนานาศาสตร์ เพื่อการพัฒนาตนเอง ด้านการจัดการเรียนการสอนในฐานะอาจารย์ระดับอุดมศึกษา

การขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 “Driving Thailand 4.0 and Higher Education Teaching and Learning Development” ขึ้น เพื่อสร้าง ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายของรัฐ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางใน การจัดการอุดมศึกษาที่มุ่งสู่การพัฒนาที่ร่วมกันในการขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0 รวมทั้งสรรหาและเชิดชูเกียรติมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา การเรียนการสอนที่ตอบสนองการผลิตบัณฑิตด้วยแนวคิดและแนวปฏิบัติใหม่ๆ ในการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาให้บัณฑิตมีคุณภาพสำหรับโลกศตวรรษ ที่21 และเปิดโอกาสให้ผู้บริหารและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเหล่านี้ได้มา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ตลอดจนประสบการณ์

ในการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาให้บัณฑิตมีคุณภาพสำหรับโลกศตวรรษ ที่21 และเปิดโอกาสให้ผู้บริหารและอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเหล่านี้ได้มา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดองค์ความรู้ตลอดจนประสบการณ์ การขับเคลื่อนการสร้างเครือข่ายระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา การจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการพัฒนาองค์กรให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะนำไปสู่ความตระหนักรู้ในความสำคัญของเรื่องนี้จนเกิดการสร้างหน่วยงาน รองรับหน้าที่การพัฒนาดังกล่าวในแต่ละสถาบันของตนเองได้เป็นอย่างดีในอนาคต

ขยายความร่วมมือทางวิชาการ และการวิจัยด้านการพัฒนาการจัดการอุดมศึกษา ระหว่างองค์กร สถาบัน ทั้งในระดับชาติและระดับสากล สร้างเวทีสำหรับการเรียน และแลกเปลี่ยนความรู้ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนา เพื่อนำไปสู่ แนวทางการพัฒนาและแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สนับสนุนการถ่ายทอด เทคโนโลยีทางการศึกษา โดยความร่วมมือระหว่างสถาบันและพันธมิตรต่างประเทศ