จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตร 3ห่วงโซ่คุณภาพ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ด้านการวัดและประเมินผล
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีความครอบคลุม 2 ด้าน ด้านความสามารถและทักษะ ด้านคุณลักษณะ
ความสามารถและทักษะ คุณลักษณะ จุดเน้นตามช่วงวัย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นใน การทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ จุดเน้นตามหลักสูตร ฯ แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย มีความมุ่งมั่น ในการศึกษาและการทำงาน ม.4 - 6 แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ม.1 - 3 อยู่อย่าง พอเพียง อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ป.4 - 6 ใฝ่เรียนรู้ อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ป.1 - 3 ใฝ่ดี
การวัดและประเมินคุณลักษณะ(ความดี) จุดเน้นตามช่วงวัย อยู่อย่างพอเพียง คุณลักษณะ แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตด้วย ความประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เน้นวัตถุนิยม วิธีการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ กระตุ้นให้ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม บันทึกการกระทำ เครื่องมือ - แบบบันทึกพฤติกรรม - เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน ผ่าน : มีพฤติกรรมใช้ทรัพย์สินของตนเองและทรัพยากรของส่วนร่วมอย่างประหยัดและคุ้มค่า
การวัดและประเมินความสามารถและทักษะ(ความเก่ง) จุดเน้น คิดเลขเป็น ความสามารถและทักษะ บวกและลบจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ๐ และแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิธีการ การทดสอบการบวกและลบจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ๐ เครื่องมือ แบบทดสอบแสดงวิธีทำการบวกและลบจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ เกณฑ์การประเมิน ผ่าน : แสดงวิธีทำและหาคำตอบได้ถูกต้องตาม สถานการณ์ที่กำหนดร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ จุดเน้นคุณภาพ ผู้เรียน
จุดมุ่งหมายการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน จุดเน้น เพื่อตัดสินผลการเรียนการเรียนรู้ จุดเน้น
องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้การประเมินพัฒนาการเรียนรู้ได้ บรรยากาศการเรียนรู้ แรงจูงใจ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลกับจุดเน้น การวัดและประเมินผลเป็นเครื่องมือ ที่ช่วยตรวจสอบเพื่อหาคำตอบว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเกิดผลการเรียนรู้ตามจุดเน้น ในระดับที่น่าพึงพอใจมากน้อยเพียงใด
หลักการวัดและประเมินผลที่นำไปใช้กับจุดเน้น ต้องชัดเจนในสิ่งที่ต้องการวัด วัดและประเมินผลให้ตรงกับเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องการจะวัดประเมินผล มีความคงเส้นคงวา มีความน่าเชื่อถือได้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลตามจุดเน้น การประเมินเพื่อการเรียนรู้ Assessment for learning การประเมินระหว่างเรียนโดยครู เพื่อดูว่าผู้เรียนบรรลุตามสิ่งที่กำหนดเป็นเป้าหมายหรือยัง ถ้ายังไม่บรรลุต้องหาสาเหตุเพื่อการปรับปรุงแก้ไข การประเมินลักษณะนี้จะเป็นแนวทางในการปรับปรุงการสอนของครูและวางแผนพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ดีขึ้น
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลตามจุดเน้น การประเมินตนเองของผู้เรียนเพื่อการเรียนรู้ Assessment as learning การประเมินที่ผู้เรียนเป็นผู้ประเมินตนเองและปรับวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับตนเองเพื่อพัฒนา ให้บรรลุ เป้าหมายการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลตามจุดเน้น การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ Assessment of learning การประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้รวบยอด เพื่อตัดสิน ผลการเรียนรู้โดยรวมของผู้เรียน มีหลายระดับ เช่น - การประเมินเมื่อจบบทเรียน - การประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ - การประเมินเมื่อจบรายวิชา เพื่อสรุปว่าผู้เรียนมีความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามที่กำหนด
การเลือกใช้เครื่องมือประเมินผลตามจุดเน้น ครูผู้สอนจะต้องทำความชัดเจนในจุดเน้นแต่ละจุดว่าประกอบด้วยมาตรฐาน/ตัวชี้วัดใด ความสามารถอะไร ทักษะกระบวนการใด หรือคุณลักษณะอะไร ซึ่งในบางกรณีวิธีประเมิน อาจใช้เครื่องมือเพียงอย่างเดียว บางกรณีอาจใช้เครื่องมือหลายอย่าง ครูผู้สอนสามารถเลือกใช้ได้ความเหมาะสม
การประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย การเรียนการสอน วัดและประเมินผล ไม่เป็นทางการ สังเกต/ซักถาม/สัมภาษณ์ ทดสอบ ตั้งประเด็นปัญหา ปฏิบัติ/โครงงาน
การประเมินเพื่อการเรียนรู้(Assessment for Learning)
การประเมินที่มุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน ในการบรรลุตัวชี้วัด/มาตรฐานและจุดเน้น ตามหน่วยการเรียนรู้ที่ครูได้วางแผนไว้ การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล เช่น - สังเกตพฤติกรรมผู้เรียนรายบุคคล - ถามตอบระหว่างทำกิจกรรมการเรียน - พบปะสนทนาพูดคุยกับผู้เรียนและ ผู้เกี่ยวข้อง - สอบปากเปล่า - อ่านบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ของผู้เรียน - ตรวจแบบฝึกหัดและการบ้าน พร้อมทั้งให้ข้อมูลย้อนกลับ
การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ การประเมินที่มุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน ในการบรรลุตัวชี้วัด/มาตรฐานและจุดเน้น ตามหน่วยการเรียนรู้ที่ครูได้วางแผนไว้ การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ เป็นการประเมินด้านความรู้ความคิด (Cognitive Domain ) ควรเลือกใช้แบบทดสอบให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินนั้นๆ เช่น แบบทดสอบเลือกตอบ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบจับคู่ แบบทดสอบเติมคำ แบบทดสอบความเรียง เป็นต้น ทั้งนี้แบบทดสอบที่จะใช้ต้องเป็นแบบทดสอบที่มีคุณภาพ มีความเที่ยงตรง (Validity) และเชื่อมั่นได้ (Reliability)
การประเมินด้านคุณลักษณะ การประเมินที่มุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน ในการบรรลุตัวชี้วัด/มาตรฐานและจุดเน้น ตามหน่วยการเรียนรู้ที่ครูได้วางแผนไว้ การประเมินด้านคุณลักษณะ เป็นการประเมินคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะและเจตคติ ที่ควรปลูกฝัง ในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งวัดและประเมินเป็นลำดับขั้นจากต่ำสุดไปสูงสุด ดังนี้ ขั้นรับรู้ รู้จัก เต็มใจ สนใจ ขั้นตอบสนอง เชื่อฟัง ทำตาม อาสาทำ พอใจที่จะทำ ขั้นเห็นคุณค่า (ค่านิยม) ความเชื่อ การกระทำหรือปฏิบัติ อย่างสม่ำเสมอ ยกย่องชมเชย ปฏิเสธที่จะกระทำในสิ่งที่ขัดแย้งกับความเชื่อของตน ขั้นจัดระบบคุณค่า อภิปราย เปรียบเทียบจนเกิดอุดมการณ์ในความคิดของตนเอง ขั้นสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม ประพฤติปฏิบัติเช่นนั้นอยู่เสมอในสถานการณ์เดียวกัน หรือเกิดเป็นอุปนิสัย
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะที่ต้องการประเมิน มีวินัย ตัวชี้วัด - ความตรงต่อเวลา - การปฏิบัติงานตามหน้าที่ของตนเอง - การเคารพสิทธิของผู้อื่น - การปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อตกลงต่างๆ ในสังคม - ยอมรับผลการกระทำของตนเอง วิธีการประเมิน การสังเกต เครื่องมือการประเมิน แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การให้คะแนน หมายเหตุ ในกรณีที่ผู้เรียนมีผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (ระดับคะแนน 1) ให้ผู้สอนพัฒนาจนผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะ ระดับคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมิน (1) ผ่านเกณฑ์ (2) ดี (3) ดีเยี่ยม (4) ความมีวินัย พฤติกรรมไม่ชัดเจนและไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้ ปฏิบัติ งานตามหน้าที่ของตนเอง ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบข้อบังคับ ตรงต่อเวลา ปฏิบัติ งานตามหน้าที่ของตนเอง ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบข้อบังคับ ตรงต่อเวลา ปฏิบัติ งานตามหน้าที่ของตนเอง ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบข้อบังคับ เคารพสิทธิของผู้อื่น และยอมรับผลการกระทำของตนเอง
การประเมินผลการเรียน ภาคเรียนที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ การเขียนบรรยายความรู้สึก/ประสบการณ์ส่วนตัว เวลา ๙ ชั่วโมง วันที่ประเมิน ๑๑ /๐๔/๒๐๑๐ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมิน คะแนน ๑. วาดแผนภาพโครงเรื่อง ดีเลิศ ๔ ๒. เขียนเรื่องจากประสบการณ์ ของตน/เลือกหัวข้อเรื่อง บรรลุผล ๓ ๓. เขียนด้วยอักษรตัวพิมพ์อย่าง ถูกต้อง กำลังพัฒนา ๒ ยังไม่บรรลุผล ๑
วิธีการประเมิน แบบทดสอบ ทดสอบทักษะการปฏิบัติ แบบทดสอบ ทดสอบทักษะการปฏิบัติ สมุดแบบฝึกหัด การนำเสนอ ประเมินตนเอง การสังเกตของครู เพื่อนประเมินเพื่อน อื่นๆ...........................................................
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เลขที่/ชื่อน.ร. ผลการประเมิน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (๑) (๒) (๓) ๑. ดิน ๔ ๓ ๒. น้ำ ๓. ลม ๒ ๔. ไฟ ๕. พืช
นักเรียนที่มีจุดแข็ง (ระบุชื่อนักเรียน ใครบ้าง) เขียนนิทานง่ายๆ ที่แต่งเองได้โดยไม่ต้องช่วยเหลือ (ระบุชื่อนักเรียน) กำลังพัฒนาทักษะ ต้องการการช่วยเหลือเพียงเล็กน้อยในการเขียนโครงเรื่อง
นักเรียนที่ยังมีปัญหา (ระบุชื่อนักเรียน ใครบ้าง) ยังต้องช่วยในทุกเรื่องอย่างใกล้ชิด (ระบุชื่อนักเรียน) ต้องการคำแนะนำในการเขียนโครงเรื่อง
การดำเนินการขั้นต่อไป จัดประสบการณ์และโอกาสให้นักเรียน ได้เห็นว่าจะรวมแนวคิดต่างๆ มาเขียนได้อย่างไร โดยให้ทำตามตัวอย่าง และช่วยกันแต่งเรื่อง ตลอดจนให้เวลานักเรียนในการแต่งเรื่องด้วยตนเอง โดยคอยช่วยเหลือและพูดคุยกันเชิงลึก ทั้งนี้ต้องทำทุกวัน
ข้อเสนอแนะจากการประเมิน การเขียนข่าวยังคงเป็นจุดเน้นหลักที่นักเรียนต้องทำทุกวัน ซึ่งจะทำให้นักเรียนได้ฝึกประสบการณ์ที่จำเป็นในการสร้างโครงเรื่องและเขียนเรื่องง่ายๆ การเชื่อมโยงผลการเรียนรู้จะทำให้นักเรียนเห็นว่าจะพัฒนาตนให้เป็นนักเขียนที่เก่งได้อย่างไร ลายมือฝึกให้เห็นแบบอย่างที่ดี และก็ยังมีสิ่งที่ต้องพัฒนาอีกมาก
การกำกับดูแลคุณภาพการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น การวัดและประเมินระดับชั้นเรียน ดูความก้าวหน้าของผู้เรียนรายบุคคลด้านความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะ ตามจุดเน้น เพื่อทราบปัญหา/อุปสรรค ในการเรียนรู้ตามจุดเน้น นำผลไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน /ปรับปรุงพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนตามจุดเน้น
การวัดและประเมินระดับสถานศึกษา ตรวจสอบ ผลการประเมิน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ประเมินคุณภาพผู้เรียน เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียน สรุปและรายงานผล
การวัดและประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา ยกระดับคุณภาพ ประกันคุณภาพ ภายใน รองรับการ ประเมิน คุณภายนอก ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่ ตรวจสอบทบทวนคุณภาพผู้เรียน สรุปและรายงานผล
การวัดและประเมินระดับชาติ ผู้รับผิดชอบ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) O-NET : Ordinary National Educational Testing การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน สอบความรู้รวบยอด (ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6) ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร สพฐ. NT (ป.3)
ข้อจำกัดของการดำเนินงาน ระดับชั้นเรียน ครูไม่ได้ให้ความสำคัญกับการให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล ครูมุ่งใช้ผลการประเมินเพื่อการตัดสินมากกว่าเพื่อการพัฒนา ครูขาดความรู้ความเข้าใจในเทคนิควิธีการการประเมิน ครูไม่สามารถออกแบบการวัดและประเมินผล ที่สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด ที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ข้อจำกัดของการดำเนินงาน ระดับชาติ การเห็นความสำคัญของผู้เกี่ยวข้อง การให้ความร่วมมือ ส่งผลให้ผลการประเมินที่ได้ไม่สะท้อนคุณภาพที่แท้จริง ขอบข่ายของสิ่งที่ประเมินทำได้บางส่วน การรายงานผลล่าช้า รูปแบบการรายงานอาจเหมาะสมเฉพาะ นักการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ประเมิน ยังทำได้ในวงจำกัด การนำผลไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ยังอยู่ในระดับน้อย
ภาพการดำเนินงานที่คาดหวัง ระดับชั้นเรียน ผู้เรียน มีความตระหนัก/ให้ความสำคัญ/มีส่วนร่วม/ ให้ความร่วมมือในการวัดและประเมินผลทุกระดับ ครู/สถานศึกษา * ออกแบบการวัดและประเมินผล * พัฒนารูปแบบการรายงานผลการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบทุกระดับ นำผลการประเมินมาใช้อย่างจริงจัง ที่สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐาน/ ตัวชี้วัด และจุดเน้น
ภาพการดำเนินงานที่คาดหวัง :ระดับชาติ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย คนพิการ คนกลุ่มน้อย ผู้เรียนระบบอื่นๆ (อัธยาศัย, นอกระบบ) การดำเนินการสอบ เอื้อต่อกลุ่มพิเศษ ใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการดำเนินการสอบ การดำเนินการสอบเป็นมาตรฐาน ด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย เครื่องมือที่ใช้หลากหลายมากขึ้น กรอบการประเมินครอบคลุมคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การรายงานผลสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ขอบคุณ