Service Plan 5 สาขาหลัก
สภาพปัญหา ผลการพัฒนา มาตรการ เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์ 5 สาขาหลัก สภาพปัญหา ผลการพัฒนา -อายุรกรรม Sepsisมีอัตราการเสียชีวิตสูง -ศัลยกรรมไม่มีการทำAppendectomyในรพ.ขนาดเล็ก -กุมารฯ รพ.ขนาดเล็กไม่สามารถดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจได้ - สูตินรีเวชฯ มีการผ่าตัด C/S จำนวนมากในรพ.ขนาดใหญ่ - ออร์โธฯไม่มีความมั่นใจในการดูแล Pt. Non displace fracture -รพ.ระดับA,Sทุกแห่งสามารถทำC/SและAppendectomyได้ -รพ.ระดับ M1(35แห่ง) สูติ รพ.M1สามารถทำผ่าตัด C/S ได้ 34 แห่ง ร้อยละ 97.14 Surg รพ.M1สามารถทำAppendectomyได้ 35แห่ง ร้อยละ 100 รพ.ระดับM2(87แห่ง) สูติ รพ.M2สามารถทำผ่าตัด C/S ได้ 77 แห่ง ร้อยละ 88.51 Surg รพ.M2สามารถทำAppendectomyได้ 73แห่ง ร้อยละ83.91 1. ลดความแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ(A,S) 2.เพิ่มศักยภาพการให้บริการใน 5สาขาหลักในหน่วยบริการที่เล็กลงตามความเหมาะสมของพื้นที่ 3.ลดการส่งต่อ และรับการส่งกลับ ในผู้ป่วยที่พ้นระยะวิกฤติ มาตรการ เป้าหมายบริการ เป้าหมายผลลัพธ์ -รพ.ระดับ M1-M2 ทุกแห่งทำผ่าตัดคลอดElectiveและAppendectomyได้ -กระจายการผ่าตัดไส้ติ่งไปโรงพยาบาลเครือข่าย -ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในภาวะวิกฤติทางเดินหายใจ - รพ.ระดับ A,S,Mทุกแห่ง สามารถวินิจฉัยSepsisได้ถูกต้อง รวดเร็ว -รพ.ระดับM1-M2 ทุกแห่งสามารถทำผ่าตัดคลอดElectiveและ Appendectomy ได้ -รพ.ระดับ A,S,M สามารถให้การดูแลผู้ป่วยเด็กที่เกิดภาวะ แทรกซ้อนในภาวะวิกฤตทางเดินหายใจ -Pt.Sepsisได้รับการวินิจฉัยโรคได้ถูกต้องรวดเร็วปลอดภัย -รพ.ขนาดเล็กมีการส่งต่อผู้ป่วย Non displace fracture ลดลง
Outcome indicator Decrease refer in from M2 to A,S,M1 30 %
Service indicators Appendectomy at M2 25 % Caesarean section at M2 10 % Non-displaced Fracture care at M2 25 % Decrease refer in sepsis 30 % Decrease refer in pediatric respirator 30 %
มาตรการสำคัญ เพิ่มศักยภาพในการผ่าตัด appendectomy, Caesarean section จัดทำ guideline ในการดูแลรักษา sepsis และ respirator care ในเด็ก
มาตรการสำคัญ appendectomy, Caesarean section 1. จัดอบรมและฝึกการทำหัตการ ให้ความรู้แก่แพทย์เพิ่มพูน ทักษะ 2.มีการจัดแพทย์จาก ร.พ.A,S ไปช่วยหมุนเวียน ช่วยทำ และ สอนหัตถการ 3.จัดจับคู่ รพ.พี่เลี้ยง 4.จัดระบบการรับปรึกษาอาจเป็น online consultation
มาตรการสำคัญ sepsis และ respirator care ในเด็ก 1. จัดอบรมและฝึกการทำหัตการ ให้ความรู้แก่แพทย์เพิ่มพูน ทักษะ 2. จัดทำ guidelines ในการดูแลผู้ป่วย sepsis และผู้ป่วยเด็ก on respirator 3. จัดจับคู่ ร.พ.พี่เลี้ยง 4. จัดระบบการรับปรึกษาอาจเป็น online consultation
การบริหารระบบ ( ตาม 6 Building Blocks) สาขา การบริหารระบบ ( ตาม 6 Building Blocks) การจัดบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) ระบบสารสนเทศ (Information system and sharing) กำลังคนด้านสุขภาพ (Health workforce) การเงินการคลังสาธารณสุข (Financing) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน และ เทคโนโลยี การอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance) ตัวชี้วัด Outcome .ลดความแออัดใน ร.พ.A,S= refer in ลดลง 30 %) ข้อมูลจาก 43 แฟ้ม 1 งบประมาณ ค่าเสื่อมจากสปสช 2 งบประมาณประจำปี 3 งบเงินบำรุงโรงพยาบาล 1 มีการจัดตั้งคณะกรรมการ คณะทำงานทั้งในระดับส่วนกลาง ระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับ ร.พ.เพื่อประสานงานและดำเนินงาน 2 มีการประเมินผลอย่างน้อยทุกๆ 3 เดือน 3 มีการนำเสนอผลการดำเนินงานในการตรวจราชการ ตัวชี้วัด Service 1 Appendectomy ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป Appendectomy ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป 1 ศัลยแพทย์ หรือแพทย์ที่รับผ่าตัด 2 ศัลยแพทย์ เชี่ยวชาญใน รพศ รพท Operation room OR set 2 Caesarean section ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป Caesarean section ใน ร.พ. ตั้งแต่ M2 ลงไป 1 สูติแพทย์ หรือแพทย์ที่รับผ่าตัดอย่างน้อย 2 สูติแพทย์ เชี่ยวชาญใน รพศ รพท 3 ให้การดูแลรักษา non displaced fracture ใน ร.พ.ตั้งแต่ M2 ลงไป ดูแลรักษา non displaced fracture ใน ร.พ.ตั้งแต่ M2 ลงไป 1 ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ หรือแพทย์ที่รับผิดชอบ 2 ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ เชี่ยวชาญใน รพศ รพท X-ray Online consultation