แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
Advertisements

องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แผนงาน / กิจกรรมตามนโยบายการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่ วิชาชีพ สถานศึกษา พอเพียง การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของ ผอ.รร.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน หลักสูตร กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การทบทวน หลังการปฏิบัติ (AAR) ๑๒๓๔ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) ๑ จัดโครงสร้างเวลาเรียน ปรับปรุง เนื้อหาภายในแต่ละวิชา โครงสร้างเวลาเรียน ประถมศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน ประถมศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น โครงสร้างเวลาเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๘ กลุ่มสาระ พื้นฐาน ๘๘๐ ชม./ปี เรียนจริง ๑,๔๐๐ ชม./ปี หรือ ๓๕ ชม./สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ๑๒๐ ชม./ หรือ ๓ ชม./ สัปดาห์ รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียน จัดเพิ่ม ขึ้นเอง ปัจจุบัน “ ไม่น้อยกว่า ” ๑,๒๐๐ ชม./ปี ๘ กลุ่มสาระ พื้นฐาน ๘๘๐ ชม./ปี กิจกรรม หมวด ๒ - ๔ ใหม่ “ ไม่เกิน ” ๑,๒๐๐ ชม./ปี หมวด ๑ กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน ๑๒๐ชม./ปี หรือ ๓ ชม./ สัปดาห์ รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียนจัด ๒๐๐ ชม./ปี เรียนในห้องเรียน ๒๗ ชม./สัปดาห์ ชม.ที่เหลือ ๘ ชม./สัปดาห์ เป็นกิจกรรม ๔ หมวด (บังคับ หมวด ๑) รายวิชา เพิ่มเติม ๒๐๐ ชม./ปี ตามหลักสูตรแกนกลาง

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการปรับลดเวลาเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ปรับปรุงเนื้อหาภายในแต่ละวิชา ความสอดคล้องเชื่อมโยงและจัดกลุ่มตัวชี้วัดชั้นปี ป.๑-ม.๓ ทั้งภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ความสอดคล้องเชื่อมโยงและจัดกลุ่มตัวชี้วัดชั้นปี ป.๑-ม.๓ ทั้งภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ความสอดคล้องเชื่อมโยงของสาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑-ม.๓ ทั้งภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กรอบแนวคิดการจัดเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา กรอบการจัดเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ภาษาไทย คณิต ภาษา ต่างประเทศ สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่ พลเมือง เวลาเรียนรู้อิงมาตรฐาน สร้างเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม สร้างเสริมทักษะการทำงาน ดำรงชีพและทักษะชีวิต สร้างเสริมทักษะการทำงาน ดำรงชีพและทักษะชีวิต กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน HEART HEAD HAND เป้าหมาย กลุ่มกิจกรรม ศิลปะ สุขศึกษา และพละ การงาน เทคโน

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการปรับเวลาเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา เวลากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ช่วงเช้า๐๘. ๑๕ น. – ๑๒. ๑๕ น. จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ หรือเรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ พักกลางวัน๑๒. ๑๕ น. – ๑๓. ๑๕ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ช่วงบ่าย๑๓. ๑๕ น. – ๑๕. ๑๕ น.- จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ และภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร ๑๕. ๑๕ น. – ๑๖. ๑๕ น. ปฏิบัติกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่าง การจัดตารางเรียนมัธยมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา เพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเรียน เนื้อหา สาระ ภาควิชาการ - จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและ รายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ และภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร จัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การจัดตารางเรียนมัธยมศึกษา หมายเหตุ ๑. โรงเรียนมีเวลาจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ วันละ ๑ ชั่วโมง หรือ จำนวน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ ระหว่างช่วงเวลา ๑๕.๑๕ – ๑๖.๑๕ ของแต่ละวัน ๒. วิชาหน้าที่พลเมือง เป็นรายวิชาเพิ่มเติม จัดการเรียนการสอน โดยบูรณาการลงสู่กิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการอยู่แล้ว โดยไม่เพิ่ม ชั่วโมงเรียน ได้แก่ กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมตามประเพณี กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด กิจกรรมโฮมรูม เป็นต้น เพื่อ ปลูกฝังให้เกิดการปฏิบัติและกลายเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน จะ ลดเวลาในตารางเรียนได้ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การจัดตารางเรียนมัธยมศึกษา หมายเหตุ ๓. โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” บังคับตามหลักสูตร ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๔. โรงเรียนจะมีเวลาปฏิบัติกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” จำนวนทั้งสิ้น ๙ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๕. โรงเรียนสามารถยืดหยุ่น ปรับเวลาได้ตามความเหมาะสม และ ตามบริบทของโรงเรียน ๖. โรงเรียนที่จัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมมาตรฐานสากล (IS) หรืออื่นๆ ให้จัดอยู่ในกรอบเวลาเรียน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่าง ตารางเรียนระดับมัธยมศึกษา ชั้น ม. ๑ ภาคเรียนที่ ๒

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ครู รูปแบบ / วิธีการ จัดการเรียนรู้ สังกัด สพป. สังกัด สพม. การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ๒ สังกัดอื่น สถานศึกษา

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ทางวิชาการ NT, O-NET ไม่มีผลกระทบ ทางวิชาการ NT, O-NET ไม่มีผลกระทบ ความสำเร็จของโครงการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ” ระหว่างภาคเรียน ๒ ครั้ง หลังปิดภาคเรียน ๑ ครั้ง ความสำเร็จของโครงการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ” ระหว่างภาคเรียน ๒ ครั้ง หลังปิดภาคเรียน ๑ ครั้ง การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การวัด และประเมินผล ๓ การประเมินผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน การประเมินผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การวัดและประเมินผล กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” ๑. หมวดที่ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตรให้ตัดสินผลการประเมิน เป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ๒. หมวดที่ ๒ – ๔ กิจกรรมสร้างเสริม สมรรถนะและการเรียนรู้ คุณลักษณะและค่านิยม ทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต ให้ประเมินผลความก้าวหน้าพัฒนาการ ของนักเรียนเป็นรายบุคคล และประเมินความพึงพอใจ บันทึกผลการประเมินเป็นแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่างการวัดและประเมินผล การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ประเด็นการวัดและประเมินผลวิธีการวัดและประเมินผลเครื่องมือวัดและประเมินผล การทำงานเป็นทีมสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ  แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) ทักษะการแก้ปัญหา- ตรวจผลงาน การปฏิบัติงาน - สอบถามความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมของ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง  แบบประเมินประเมินผลงาน  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) - แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม ทักษะการคิดวิเคราะห์ตรวจผลงาน (ภารงาน/ ชิ้นงาน)  แบบประเมินประเมินผลงาน  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) คุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน กตัญญู) - สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ - สอบถามความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมของ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง  แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ  เกณฑ์คุณภาพ (Rubric)  แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สพป./สพม. สถานศึกษา สพฐ. การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การทบทวน หลังการปฏิบัติ After Action Review (AAR) ๔ สัปดาห์ละครั้ง เดือนละครั้ง ภาคเรียนละครั้ง - ดำเนินการทันทีหลังปิดภาคเรียน - ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป - รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป - ดำเนินการทันทีหลังปิดภาคเรียน - ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป - รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป

แนวทางการบริหารจัดการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ”

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทของครู  เข้าใจแนวคิดที่ว่า “ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง” โดยเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่ภายในเข้ากับการได้ลงมือปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ  ต้องตระหนักว่า “การจัดการศึกษาแก่นักเรียนนั้นควรส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้” ไม่ใช่เน้นแต่เพียงเนื้อหา ความรู้  มีบทบาทเป็น “ผู้แนะนำ สร้างบรรยากาศและจัดสถานการณ์ ที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง” มากกว่าการเรียน จากคำบอกของผู้สอน  ออกแบบ “สร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน” มากกว่าการเป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้หน้าห้องเพียงอย่างเดียว

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ หน่วยงาน / องค์กร กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กระทรวงกลาโหม กระทรวงแรงงาน กระทรวงยุติธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ฯลฯ โอลิมปิคฯ กลุ่มศิลปิน ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน กรอ.อศ. อปท. CSR ของบริษัทเอกชน ฯลฯ หน่วยงาน / องค์กรที่สามารถจัดกิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาได้ ประชุมผู้แทน หน่วยงาน / องค์กร เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ ก. ย. ๕๘

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการจัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ สวัสดี