การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
นโยบายกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2559
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
PRIMARY CARE PRIMARY CARE Primary care.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.4 วัย ทำงาน การ ส่งเสริม สุขภาพจิตวัย ทำงาน และ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิตใน กลุ่มเสี่ยงวัย ทำงานที่ป่วย ด้วย โรค เรื้อรัง มีปัญหา ความรุนแรงใน ครอบครัว และมีปัญหา เสี่ยงต่อการ ติดสุรา / ยา เสพติดใน รพช. สถาน ประกอบการ และชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพใน การดูแลทางสังคม จิตใจกลุ่มเสี่ยง วัยทำงานที่ป่วยด้วย โรคเรื้อรัง มีปัญหา ความรุนแรงใน ครอบครัว และมี ปัญหาเสี่ยงต่อการ ติดสุรา / ยาเสพติด ใน รพช. ส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการ ส่งเสริม สุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต วัย ทำงาน ในสถาน ประกอบการ ในชุมชนโดย เชื่อมโยงกับ ระบบ DHS เน้ น

สุขภาพจิตวัย ทำงาน รพช. สถาน ประกอบการ ชุมชน คลินิคต่างๆ PSYCHOS OCIAL CLINIC NCD บูรณ าการ

ประเด็นในการชี้แจง ในการพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนให้มี บริการดูแลด้านสังคมจิตใจที่มีคุณภาพ และเชื่อมโยงกับระบบบริการตามกลุ่ม วัย

ในการพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนให้มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจ ที่มีคุณภาพและเชื่อมโยงกับระบบบริการตามกลุ่มวัย หมายถึง การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้หน่วยบริการระดับรพช. มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจที่มคุณภาพใน กลุ่มวัยรุ่น วัยทำงาน โดยมีองค์ประกอบคุณภาพครบทั้ง 3 ด้าน คือ 1. ด้านบุคลากร : มีผู้รับผิดชอบ / ทีมดูแลด้านสังคมจิตใจที่ ได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อรองรับการให้บริการส่งเสริม สุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตามประเด็นปัญหา สำคัญของกลุ่มวัย เช่น ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความรุนแรง สุรา / ยา เสพติด โรคเรื้อรัง

2. ด้านบริการ : มีการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตทั้งเชิงรุกและเชิงรับ สำหรับกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง โดยใช้กระบวนการให้ การดูแลด้านสังคมจิตใจ และ / หรือการให้การปรึกษา ในประเด็นปัญหา ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความรุนแรง สุรา / ยาเสพติด โรคเรื้อรัง

การบริการเชิงรุก เป็นการให้บริการนอกหน่วยงาน (Out reach) โดยเชื่อมโยงกับเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหา สุขภาพจิต เช่น การรณรงค์ให้ความรู้ การเผยแพร่ ความรู้สุขภาพจิตแก่ชุมชน การคัดกรองและเฝ้า ระวังปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน การจัดกิจกรรมใน ชุมชนร่วมกับเครือข่ายต่างๆ คลินิกสุขภาพจิต เคลื่อนที่ เป็นต้น การบริการเชิงรับ เช่น การให้บริการปรึกษา การ ส่งต่อบริการ / ข้อมูลและติดตามเพื่อได้รับการดูแล ต่อเนื่องทั้งทางด้านสังคมและจิตใจ ส่งต่อเพื่อ ขอรับบริการต่อเนื่องที่ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial clinic) บ้านพักเด็กและครอบครัว ส่งต่อข้อมูลเพื่อติดตามเยี่ยมบ้าน การติดตามทาง โทรศัพท์ เป็นต้น

3. ด้านบูรณาการ : เป็นการประสานการดำเนินงาน เพื่อเชื่อมโยงระบบบริการดูแลช่วยเหลือด้านสังคม จิตใจกับหน่วยงานเกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ในการดูแลช่วยเหลือฯ ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่าง ครอบคลุมและต่อเนื่อง เช่น การดูแลช่วยเหลือด้าน สังคมจิตใจนักเรียนในโรงเรียน (OHOS) การดูแล ช่วยเหลือด้านสังคมจิตใจผู้ได้รับผลกระทบจากความ รุนแรงในครอบครัวในศูนย์พึ่งได้ การดูแลช่วยเหลือ ด้านสังคมจิตใจในสถานประกอบการ การดูแล ช่วยเหลือด้านสังคมจิตใจในคลินิกโรคเรื้อรัง เป็นต้น

เน้น ให้ครอบคลุม 3 ด้าน 4 ประเด็น 3 ด้าน คือ 1. ด้านบุคลากร 2. ด้านบริการ 3. ด้านบูรณาการ 4 ประเด็น 1. หญิงตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น 2. สุรา / ยาเสพติด 3. ความรุนแรง 4. โรคเรื้อรัง