การบรรยาย “ การพัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการ ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ” วันพุธที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา – น. ณ ห้องประชุมพิพิธสมบัติ ชั้น 6 อาคารสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดย นางวิไลวรรณ ทัพวงศ์ ศรี หัวหน้าสำนักงาน รัฐมนตรี
ภารกิจเกี่ยวกับความร่วมมือการค้า และการลงทุน ส่งเสริมการขยายตลาดการค้าระหว่าง ไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน สร้างความร่วมมือทางการค้า ภายใต้ กรอบความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาค อาทิ ACMECS, IMT-GT, GMS เป็น ต้น ส่งเสริมการค้าการลงทุนระหว่างไทย กับประเทศเพื่อนบ้านในพื้นที่ส่วน ภูมิภาค
กิจกรรม เข้าร่วมประชุมภายใต้กรอบความร่วมมือทาง เศรษฐกิจ ต่างๆ ได้แก่ IMT-GT, GMS, ACMECS จัดคณะผู้แทนการค้าการลงทุนไปเยือนประเทศ เพื่อนบ้าน จัดทำ Business Matching สร้าง ความสัมพันธ์ทางการค้า รวมทั้งเชิญ ผู้ประกอบการจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาศึกษา ดูงานในประเทศไทย จัดประชุมคณะกรรมการการค้าชายแดน และ การลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อหารือระหว่าง ภาครัฐและเอกชนในการแก้ไขปัญหาอุปสรรค ทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งการค้า ชายแดนและการค้าผ่านแดน การลงพื้นที่ชายแดนเพื่อประชุมร่วมกับภาครัฐ และเอกชน เพื่อแก้ไขปัญหาการค้าร่วมกันใน พื้นที่
กิจกรรม ( ต่อ ) การจัดประชุมคณะอนุกรรมการด้าน การตลาดและประชาสัมพันธ์เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ - เพื่อเชิญชวนนักลงทุนทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติมาลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ การจัดงาน Open House เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ - เป็นการเปิดบ้าน ( เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ) ให้นักลงทุนได้ไปเยี่ยมเยือนและ ซักถามในปัญหาข้อสงสัย การจัดสัมมนาเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุน ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โครงการใหม่ล่าสุด ซึ่งได้ดำเนินการครั้ง แรกเมื่อปี 2558 คือโครงการ YEN-D
โครงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน Young Entrepreneur Network Development Program (YEN-D Program) วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของ ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ของไทยกับประเทศ เพื่อนบ้าน เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายการทำธุรกิจระหว่าง กันอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการทำ ธุรกิจการค้าและการลงทุนในตลาด ต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเพื่อน บ้าน เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ด้านความรู้ทางธุรกิจและ ขยายโอกาสทางการค้าระหว่างกัน
เป้าหมาย ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ของ ไทยและประเทศเพื่อนบ้าน อายุไม่เกิน 45 ปี ดำเนินธุรกิจประสบ ความสำเร็จมีศักยภาพใน การเข้าสู่ตลาดประเทศ โดยเฉพาะเพื่อนบ้าน ตอนบน (CLMV)
ผลผลิตของโครงการ ได้ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ ผ่านการอบรมตามโครงการ ไม่น้อยกว่า 220 คน ใน จำนวน 4 รุ่น และไม่น้อยกว่า 55 คน ในแต่ละรุ่น ต้องเป็นเจ้าของกิจการ หรือ ทายาทเจ้าของกิจการเท่านั้น
การดำเนินโครงการ YEN-D โดยวิธีจัดจ้างสถาบันการศึกษาที่มี ศักยภาพด้านบุคลากร และความพร้อม ด้านต่างๆ ทั้งด้าน - การกำหนดหลักสูตร - การจัดหาวิทยากร - การศึกษาดูงาน - การจัดเลี้ยงระหว่างอบรม - รับผิดชอบค่าเดินทางและค่าที่พัก ในระหว่างของ YEN-D จากเพื่อนบ้าน
แผนงานฝึกอบรมโครงการสร้างเครือข่าย ผู้ประกอบการไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน วันหัวข้อการฝึกอบรม วันที่ 1 ลงทะเบียนเข้าที่พัก วันที่ 2 พิธีเปิดการฝึกอบรม สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้ประกอบการไทยและประเทศเพื่อน บ้าน Welcome Dinner พิธีเปิดการฝึกอบรม วันที่ 3 การพัฒนาแผนการทำธุรกิจ นวัตกรรม ธุรกิจระหว่างประเทศ คุณลักษณะของเจ้าของกิจการ Cooking Class and Dinner วันที่ 4 เยี่ยมชมบริษัทที่ประสบผลสำเร็จในการประกอบธุรกิจอย่าง น้อย 2 บริษัท Dinner Cruise วันที่ 5 Digital Start Up การเงินสำหรับเจ้าของกิจการ อบรมวิชาการ วันที่ 6 ทัศนศึกษาเชิงวัฒนธรรม (Cultural Visit) วันที่ 7 สรุปการฝึกอบรม และพิธีเปิดการฝึกอบรม
“ ทำไมเลือกทำ โครงการ YEN-D กับประเทศ ClMV”
ตารางแสดงรายได้เฉลี่ยต่อหัวของ ประชากรของประเทศต่างๆ ( เหรียญ สหรัฐ / หัว / ปี )
ลักษณะพิเศษของ ประเทศ CLMV รสนิยม - ชอบสินค้าไทย - ภาพยนตร์ และดารา นักร้องไทย วัฒนธรรมใกล้เคียงกัน
“ หารือกับ ผู้ประกอบการ หรือไม่ ?” เพราะเป็นการพัฒนา ผู้ประกอบการ “Feed Back จาก ผู้ประกอบการ เป็นอย่างไร ” เปรียบเทียบกับโครงการ อื่นๆ ที่เคยทำมาเป็น อย่างไร ?
ผลการดำเนินงานเป็น อย่างไร - มีการจัดคณะเดินทางไปขยาย ตลาดระหว่างกัน - ซื้อขายและร่วมลงทุนระหว่างกัน - ร่วมงานทุกครั้งที่มีคณะ YEN-D จากไทยไปเยือน -YEN-D เพื่อนบ้านมาเยือนไทย - มีสัมพันธภาพที่แน่นแฟ้น
ปี YEN-D Reunion -YEN-D Season 2 - ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นไป แล้วเมื่อกลางเดือน กรกฎาคมนี้ จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ