เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
27 เมษายน 2559 จังหวัด นครราชสีมา. วัตถุประสงค์การจัดทำ รายงานวัณโรค เพื่อทราบสถานการณ์ และประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมวัณโรค ของหน่วยงาน ที่ให้บริการ.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
วัณโรค Small success 3 เดือน PA กสธ./เขต/จังหวัด 30 มิถุนายน 2560.
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Palliative care.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
Service plan :RDU-AMR ปี 60 ไตรมาส 2 จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ โรค (QTB) 75% 3. อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งผ่านเกณฑ์การ ประเมินประเด็นวัณโรค >60% 4. เพิ่มผลสำเร็จของการรักษาวัณโรค ( > 90%) ตายน้อยกว่า 5 (< 5%) ขาดยาลดลงเป็น 0

Strategy plan TB Intensive case finding Refer patient to DOT,MDR-TB M&E /coaching Net work & community participation MDR-TB TB/HIV Migrant Prison

มาตรการ TB ระดับเขต มาตรการที่ 1 การค้นหาเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย มาตรการที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการตรวจหาวัณ โรคดื้อยาทางห้องปฏิบัติการการ มาตรการที่ 3 การพัฒนาคุณภาพการรักษาวัณ โรค มาตรการที่ 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนและภาคประชาสังคม

มาตรการเร่งรัดงาน TB จังหวัด เชียงใหม่ มาตรการที่ 1 การค้นหาเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงที่เป็นปัญหา การเสียชีวิต ( ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ผป. โรคเรื้อรังที่ต้องรักษา HIV+) มาตรการที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการตรวจหาวัณโรคดื้อ ยาทางห้องปฏิบัติการการ ( ตรวจ GeneXpert รพ. สัน ทราย & ศวข.) มาตรการที่ 3 การพัฒนาคุณภาพการรักษาวัณโรค ( กำหนดผู้รับผิดชอบและส่งต่อผป. ลงรพ. สต. ทำ DOT ภายใน 2 สัปดาห์ Dead&Default Case Conference รายงานผลในการประชุมฯ /MDR-TB Case management การกำกับติดตามเข้มข้น มาตรการที่ 4 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและ ภาคประชาสังคม (TB Chiang Mai Model ขยายพื้นที่ > 15 อำเภอ ) มาตรการที่ 5 บูรณาการงาน และกำหนดเชิงนโยบายให้ ทุกอำเภอเลือก TB เป็น 1 ประเด็นในอ. เข้มแข็งทุกอำเภอ และประเด็น Regulate )

การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพ การดูแลรักษาวัณโรค ปี ๒๕๕๘ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดจาก บริการสาธารณสุขทุกระดับ 2. เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการทำงาน สาธารณสุข 10 องค์ประกอบ 1. การตอบสนองเชิง นโยบาย 2. การค้นหาผู้ป่วยวัณ โรคให้เร็ว ในระยะเริ่มป่วย 3. การวินิจฉัยวัณโรค 4. การรักษาวัณโรค 5. การบริหารจัดการยา วัณโรค 6. ทะเบียนและรายงาน 7. ป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อในรพ. 8. การผสมผสานงาน TB/HIV 9. การบริหารวัณโรคดื้อยา 10. การประเมิน ผลการรักษา

ผลการประเมินมาตรฐานโรงพยาบาล คุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค ปี ๒๕๕๘ โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ๙ แห่ง ( ร้อยละ๙๐ ) รพ. แม่อาย รพ. เทพรัตนเวชชานุกุลฯ รพ. สันกำแพง รพ. หางดง รพ. เชียงดาว รพ. ฝาง รพ. พร้าว รพ. ครพิงค์ และรพ. แม่วาง ( คะแนน ๙๖ - ๙๐ตามลำดับ ) โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ๙ แห่ง ( ร้อยละ๙๐ ) รพ. แม่อาย รพ. เทพรัตนเวชชานุกุลฯ รพ. สันกำแพง รพ. หางดง รพ. เชียงดาว รพ. ฝาง รพ. พร้าว รพ. ครพิงค์ และรพ. แม่วาง ( คะแนน ๙๖ - ๙๐ตามลำดับ ) มาตรฐานที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้แก่ มาตรฐานที่ 2. การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วในระยะเริ่ม ป่วย รพ. ส่วนใหญ่ที่ประเมินฯ ให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรค เสมหะพบเชื้อ ( คนไทย ) มากกว่าผป. เสมหะลบ ในสัดส่วนที่มากกว่าร้อยละ ๖๕ แสดงว่าผู้ป่วยบางราย ได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่ล่าช้าส่งผลให้มีอัตรา การเสียชีวิตสูง มาตรฐานที่ ๑๐. ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคต่ำกว่าร้อย ละ ๘๕ ไม่สามารถตัดวงจรการแพร่เชื้อในชุมชนก่อ ปัญหาซับซ้อน / ดื้อยา ควรพัฒนาคุณภาพบริการติดตามดูแลผู้ป่วยและ ระบบการส่งต่อรพ. สต.

การประเมินผลการรักษาวัณโรค ๒๔ โรงพยาบาล ปี ๒๕๕๘ ๖ โรงพยาบาลที่มีผล Success Rate ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๕ รพ. แม่แตง ( ๘๕. ๒ % ) รพ. สันกำแพง ( ๙๐. ๐ % ) รพ. พร้าว ( ๙๒. ๓ % ) รพ. ไชยปราการ ( ๙๒. ๓ % ) รพ. เวียงแหง ( ๑๐๐. ๐ % ) รพ. อมก๋อย ( ๑๐๐. ๐ % ) ๖ โรงพยาบาลที่มีผล Success Rate ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๕ รพ. แม่แตง ( ๘๕. ๒ % ) รพ. สันกำแพง ( ๙๐. ๐ % ) รพ. พร้าว ( ๙๒. ๓ % ) รพ. ไชยปราการ ( ๙๒. ๓ % ) รพ. เวียงแหง ( ๑๐๐. ๐ % ) รพ. อมก๋อย ( ๑๐๐. ๐ % ) ปัญหาที่ทำให้ผลสำเร็จของการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคต่ำ อัตราการเสียชีวิตสูงเกินเกณฑ์ เฉลี่ยร้อยละ ๑๒. ๓ ( ระหว่างร้อยละ ๐ - ๑๐๐, เกณฑ์ไม่เกิน ๕ ) อัตราการขาดการรักษาเกิน ๒ เดือนสูง เฉลี่ยร้อยละ ๕. ๒ ( ระหว่างร้อยละ ๐ - ๒๐, เกณฑ์ขาดยาเป็น๐ )

ประเด็นขอความร่วมมือ ขอให้ผู้บริหารช่วยกำกับติดตามและสนับสนุน ผู้ปฏิบัติงานดังนี้ ๑.ให้โรงพยาบาลที่ได้รับการสุ่มประเมินฯ ปี ๒๕๕๙ ได้แก่ รพ. จอมทอง รพ. แม่แตง รพ. ไชยปราการ รพ. ดอยสะเก็ด รพ. เวียงแหง รพ. อมก๋อย และสุ่ม รพ. อีก ๕ แห่งในอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง เตรียมความพร้อมรับการประเมิน ๒.๑๘ อำเภอ / รพ. ที่ผลสำเร็จของการรักษาวัณโรคต่ำ กว่าร้อยละ ๘๕ ขอให้ เร่งรัดการดำเนินงานตาม มาตรการวัณโรค จ. ชม. ให้จริงจังและมีคุณภาพ ๒. ๑ ค้นหาเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยงที่เป็นปัญหาการ เสียชีวิต และผู้สัมผัส MDR-TB ๒. ๒ การส่งต่อผป. ลงรพ. สต. และกำหนด ผู้รับผิดชอบ ๒. ๓ การกำกับติดตามพื้นที่เรื่องผู้ป่วยเสียชีวิตและ ขาดยาในการประชุมคพสอ.