งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา. สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
สกลนครโมเดล.
รายงานผลการดำเนินงาน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน แบบบูรณาการ จังหวัดราชบุรี ประจำปีงบประมาณ 2559.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การประชุมคณะกรรมการ SP ตา
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาจักษุ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
3 Eye Service Plan : Health Area.
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานพัฒนาระบบบริการ สุขภาพสาขา ตา

สถานการณ์และแนวโน้มของ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่

สถานการณ์โรค / ปัญหาสุขภาพ พื้นที่ - คัดกรองต้อกระจก คิดเป็น 67.12% - ผ่าตัดต้อกระจก กลุ่ม Blind cataract คิดเป็น 80.29% กลุ่ม Low vision cataract คิดเป็น 90.17% - คัดกรอง DR คิดเป็น 56.13%

ตารางตัวชี้วัด 3 ปี ย้อนหลัง ลำดั บ รายละเอียด ตัวชี้วัด เป้าหม าย ผลการดำเนินงาน ปชช. อายุ 60 ปี ขึ้นไปได้รับการ คัดกรองต้อ กระจก ร้อยละ ,037 (41.30) 45,269 (67.12) 2 ผู้ป่วย Blind cataract ได้รับ การผ่าตัดภายใน 30 วัน ร้อยละ (80.29) 3 ผู้ป่วย Low vision cataract ได้รับการผ่าตัด ภายใน 90 วัน ร้อยละ (39.82) 6,297 (90.17) 4 ผู้ป่วยเบาหวาน ได้รับการตรวจ จอประสาทตา ร้อยละ (37.32) (56.13) 5 ผู้ป่วย High risk DR ได้รับการ รักษาภายใน 30 วัน ร้อยละ 100 ผู้ที่ยิง เลเซอร์ 15 คน ผู้ที่ยิง เลเซอร์ 8 คน เครื่อง ชำรุด Refer 6 คน

อธิบายตัวชี้วัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ / ข้อเสนอแนะในการ พัฒนาตัวชี้วัด - ในปี พ. ศ มีการผ่าตัดทั้งเชิงรับและเชิงรุก มีการผ่าตัด โดย Out source คือ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พอสว. โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ( องค์กร มหาชน ) และ โรงพยาบาลศุภมิตร ( เมืองพล ) ปัญหาแนวทางการพัฒนาในปี ระบบการบริหารจัดการ ข้อมูล 1. โครงการพัฒนาบุคลากรด้าน IT 2. บูรณาการด้านการทำงานและข้อมูล กับงาน NCD 2.Fundus camera 1. วางแผนจัดหา Fundus camera ให้มี ครอบคลุมทุก รพ. ระดับ M 2. มีระบบการทดแทนเมื่อเครื่องชำรุด 3. ไม่มี Pattern Laser1. ใช้การยิง Laser โดยยืมอุปกรณ์จาก Mobile eye unit ที่ รพศ. ขอนแก่น 4. ศักยภาพและจำนวนบุคลากร ไม่เพียงพอ 1. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านสาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยต้อ กระจกและ DR 2. เพิ่มจำนวนพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา 3. เพิ่มจำนวนจักษุแพทย์ 4. จัดหาแพทย์ Retina

ประเด็นสำคัญในการจัดบริการ 1. แยกทะเบียนผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision cataract 2. เพิ่มอุปกรณ์ผ่าตัดและเครื่องสลายต้อ กระจก 3. สร้างระบบการจัดเก็บข้อมูลที่เชื่อมโยงได้ ทั้งเขตและเชื่อมโยงได้ทุกระดับหน่วย บริการ

กระบวนการดำเนินงานที่พึง ประสงค์ 1. ระบบการใช้ Fundus camera ร่วมกันทั้ง จังหวัด โดยมีการกำหนดตารางการใช้ใน แต่ละพื้นที่ชัดเจน 2. ด้านบุคลกร มีการพัฒนาบุคลากร เครือข่ายทั้งแบบทางการและไม่ทางการ โดยมีโรงพยาบาลกาฬสินธุ์เป็นพี่เลี้ยง 3. ด้านระบบงาน : มีการประสานในการส่ง / รับ Refer ผู้ป่วยในทุกระดับบริการ

เป้าหมายในระยะสั้นและระยะยาว 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการผ่าตัดต้อกระจก / ลด ระยะเวลารอคอยผ่าตัดต้อกระจก blinding cataract ใน ๓๐ วัน low vision ใน ๙๐ วัน ( นอก เวลาราชการ ) 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการ / ลดอัตราป่วยภาวะเบาหวาน เข้าจอตา 3. บุคลากรด้านทีมแพทย์เฉพาะทางมีศักยภาพ ใน การดูแลผู้ป่วยต้อกระจกและผู้ป่วย DR / อบรม พยาบาลเวชปฏิบัติทางตาเพิ่มเติม

ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน และแนวทางในการแก้ไขปรับปรุง - เน้นการบริการเชิงรุก ในปี 2558

ปัญหาการดำเนินงานและ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ด้านสารสนเทศ : ระบบการบริหารจัดการข้อมูล การ บันทึกและเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ยังไม่เป็นระบบ เดียวกัน และยังไม่บูรณาการกับงานการดูแลผู้ป่วย โรคเรื้อรัง ( สาขา NCD) 2. ด้านอุปกรณ์เครื่องมือ : เครื่องมือในการคัดกรอง DR ไม่เพียงพอ (Fundus camera) โดยเฉพาะเมื่อชำรุด และ ไม่มี Pattern Laser 3. ด้านบุคลากร : ศักยภาพและจำนวนบุคลากรไม่ เพียงพอ ควรเพิ่มจำนวนจักษุแพทย์ และยัง ไม่มี แพทย์ Retina ในส่วนพยาบาลเวชปฏิบัติทางตายังมี ไม่ครบทุกอำเภอ 4. ด้านระบบงาน : ข้อมูลการผ่าตัดต้อกระจกไม่สามารถ ระบุ Blinding cataract และ Low vision Cataract ได้ ( ยกเว้นของ รพ. กาฬสินธุ์ ) ดังนั้นต้องมีการแยก ทะเบียนผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision Cataract อย่างชัดเจนครอบคลุมทั้งจังหวัด

Best Practice และผลการดำเนินงานใน สาขาที่สำคัญ 1. การดำเนินงานด้าน โครงการ O&M ที่สามารถ ดำเนินการได้ตามเป้าหมาย ( ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ - ปัจจุบัน ) โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทำให้ผู้รับบริการ ได้รับประโยชน์สูงสุด ตั้งแต่การเข้าถึงบริการจนถึง การดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ลดภาระของ ครอบครัวและสังคม นอกจากนี้จากการได้รับการฝึก อาชีพทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัดต้อกระจก โดยเพิ่ม การผ่าตัดในระบบและใช้ Out Source ซึ่งในปี ๒๕๕๗ มีการแยกทะเบียนผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision Cataract อย่างชัดเจน ใน รพ. กาฬสินธุ์ ทำให้ ขณะนี้ผู้ป่วย Blinding cataract และ Low vision Cataract ได้รับการผ่าตัด ภายในระยะเวลา ๓๐ – ๖๐ วัน ตามเกณฑ์กำหนด 3. ใช้ระบบพี่เลี้ยงและการสื่อสารทาง Social media ใน การพัฒนาบุคลากรเครือข่าย ทำให้ลดงบประมาณเกิด การประสานงานที่รวดเร็ว ผู้รับบริการได้รับการดูแลที่ เหมาะสม ( นำร่องในเขตอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ )

ด้วยความขอบคุณยิ่ง คณะกรรมการ งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขา ตา