การ บริหารงา นในกอง ลูกเสือ
วัตถุประสง ค์ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ควรจะสามารถ
1. อธิบายวิธีการบริหาร ในกองลูกเสือสำรอง ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับการบริหาร การเงินของกลุ่มหรือ กองลูกเสือได้อย่าง ถูกต้อง
3. ชี้แจงวิธีการและ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นในกองลูกเสือ สำรองได้
การวางแผน เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์
1. จัดทำกำหนดการ ฝึกอบรมตามหลักสูตร ตลอดปีการศึกษา 2. จัดให้มีการฝึกอบรม นายหมู่ 3. ส่งเสริมให้ ผู้บังคับบัญชาเข้ารับ การฝึกอบรมในชั้นสูง ต่อไป
4. ประชุมผู้กำกับทุก เดือน 5. มีความรู้ด้านการเงิน การหารายได้ 6. จัดให้มีการสอบเพื่อ รับเครื่องหมายวิชา พิเศษ
การเงิ น
รายได้ - เงินอุดหนุนจาก งบประมาณแผ่นดิน - เงินค่าบำรุงลูกเสือ - เงินผลประโยชน์ต่าง ๆ - เงินและทรัพย์สินที่มีผู้ อุทิศให้
วัตถุประสงค์การ เก็บเงินบำรุง - มาใช้จ่ายในกิจการ ลูกเสือ - ทำนุบำรุงองค์การด้วย ความเสียสละ - ฝึกลูกเสือให้รู้จัก ทำงานเพื่อให้ได้เงินมา ด้วยน้ำพักน้ำแรงของ ตนเอง
อัตราค่าบำรุง - ลูกเสือคนหนึ่งไม่เกินปี ละ 5 บาท - ผู้บังคับบัญชาปีละ 10 บาท ครบ 10 ปี เป็น สมาชิกตลอดชีพ หรือ ครั้งเดียว 100 บาท
ระยะเวลาการ ชำระ - ให้แล้วเสร็จภายใน เดือนสิงหาคมของทุกปี
หลักการใช้จ่าย - จัดหาอุปกรณ์ฝึกอบรม ลูกเสือ - ฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ - จัดพิมพ์ตำรา คู่มือ เอกสาร - อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการ ลูกเสือ
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและ ลูกเสือ ต้องไม่เรี่ยไรเงินและไม่เข้า ร่วมเร่ ขายของสิ่งใด ๆ ตามท้อง ถนน หรือเก็บบัตรผ่านประตู หรือปฏิบัติงานใด ๆ ที่ไม่สมเกียรติลูกเสือ
ในกรณีที่เห็นสมควร เลขาธิการคณะกรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด อาจอนุญาตเป็นกรณี พิเศษ ภายในระยะเวลาที่ กำหนดให้ก็ได้
วินัยลูกเสือ
โทษทางวินัย 1. ตักเตือน 2. ทำโทษ 3. คัดชื่อออกจาก ทะเบียน
ตักเตือน การว่ากล่าวให้รู้สึกผิด และชอบ จะบันทึกไว้ก็ได้
ทำโทษ ทำการอย่างหนึ่งอย่าง ใด ที่สมควรแก่ความผิด เพื่อเป็นการปลูกนิสัยที่ ดี
คัดชื่อออกจาก ทะเบียน การสั่งให้ขาดจากการ เป็นลูกเสือ จะลงโทษแก่ลูกเสือ ผู้ประพฤติชั่วอย่าง ร้ายแรง
เรื่องเกี่ยวกับ กิจการลูกเสือ
การกวดขัน การแต่ง เครื่องแบบ
การขอ พระราชทาน เหรียญลูกเสือ สรรเสริญ
ชั้นที่ 1 มีความดีความชอบ รักษาความปลอดภัย ของชาติบ้านเมือง ช่วยชีวิตผู้ตกอยู่ใน อันตราย
ชั้นที่ 2 มีความดีต่อไปนี้รวมกัน ไม่น้อยกว่า 100 ครั้ง แต่ละข้อไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง
1. ช่วยเหลือผู้ได้รับทุก ยากลำบากที่ควรช่วย 2. ช่วยเหลือหรือป้องกัน ผู้อื่นหรือทรัพย์สิน ของผู้อื่นให้พ้น อันตราย 3. ช่วยสัตว์ให้พ้นจากกา รทรมาร หรือพ้น ทุกขเวทนา
4. ทำการปฐมพยาบาล 5. ช่วยเหลือราชการ 6. ช่วยกิจการอันเป็น สาธารณสุข 7. ช่วยเหลือผู้ปกครอง หรือช่วยเหลือเพื่อน บ้าน
8. ช่วยเหลือกิจการต่าง ๆ ของโรงเรียน หรือ ของที่ทำงานซึ่งไม่ใช่ หน้าที่ตามปกติ
ชั้นที่ 3 ช่วยชีวิตผู้ตกอบยู่ใน อันตรายแม้เพียงครั้ง เดียวหรือแก่ผู้ได้ทำ ความดีความชอบตาม เกณฑ์ สำหรับชั้นที่ 2 ทุกข้อไม่น้อยกว่า 50 ครั้ง แต่ละข้อไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง
เข็มลูกเสือ บำเพ็ญ ประโยชน์
ชั้นที่ 3 1. เป็นลูกเสือมาแล้วไม่น้อย กว่า 1 ปี 2. บำเพ็ญตนเป็นลูกเสือที่ดี สมควรเป็นตัวอย่างแก่ ลูกเสืออื่น ๆ 3. ช่วยเหลือบิดามารดา หรือผู้ปกครองในกิจการ ต่าง ๆ ทางบ้านอย่างดี โดยสม่ำเสมอ
4. ช่วยเหลือกิจการ ลูกเสือของกองลูกเสือ ของตนเป็นอย่างดีโดย สม่ำเสมอ 5. บำเพ็ญประโยชน์ อย่างดีเด่นต่อโรงเรียน ของตน หรือผู้อื่น หรือกิจการที่เป็น สาธารณประโยชน์
ชั้นที่ 2 1. ได้รับเข็มชั้นที่ 3 มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 1 ปี
2. นับตั้งแต่ได้รับชั้นที่ 3 มาแล้ว ได้บำเพ็ญ ตนตามคุณลักษณะที่ ได้กำหนดไว้ในข้อ 2 ถึงข้อ 5 เป็นอย่างดี โดยสม่ำเสมอ ไม่น้อย กว่า 1 ปี
ชั้นที่ 3 1. ได้รับเข็มชั้นที่ 2 มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 1 ปี
2. นับตั้งแต่ได้รับชั้นที่ 2 มาแล้ว ได้บำเพ็ญ ตนตามคุณลักษณะที่ ได้กำหนดไว้ในข้อ 2 และ 3 เป็นอย่างดี โดยสม่ำเสมอ ไม่น้อย กว่า 1 ปี
การเดินทางไกล และแรมคืน
ให้ผู้กำกับกลุ่มหรือผู้ กำกับลูกเสือ นำลูกเสือไปฝึกเดิน ทางไกลและแรมคืน ในปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ครั้งหนึ่งให้พักแรม อย่างน้อยหนึ่งคืน
การเดินทางไกลของ ลูกเสือ ต้องได้รับความยินยอม จากผู้ปกครอง และจะต้องได้รับ อนุญาตจาก หน่วยราชการต้นสังกัด
เมื่อเสร็จการเดิน ทางไกล และแรมคืนแล้ว ต้องรายงานเสนอต่อผู้ สั่งอนุญาต
การแรมคืนของ ลูกเสือสำรอง
1. มีผู้บังคับบัญชา ควบคุม อย่างน้อย 2 คน 2. มีผู้บังคับบัญชาอย่าง น้อย 1 คน ประจำ ลูกเสือสำรอง 6 คน
3. มีน้ำสะอาดสำหรับ บริโภค มีเครื่องอำนวย ความสะดวกต่าง ๆ ใน การทำครัว เครื่อง สุขภัณฑ์ที่ถูก สุขลักษณะ 4. ที่พักต้องสะอาด เพียงพอ