ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด
Advertisements

ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
เรื่อง “การใช้เครื่องมือ Trigger” (medical record safety review)
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Mobilization Plan ลำดับ แผนงาน เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 1.
การประเมินตนเองตามมาตรฐานตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
การใช้งานระบบบริหารจัดการความเสี่ยงของสถานพยาบาล
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
Smart to Re-Acc :common pitfalls part I นพ. สมคิด เลิศสินอุดม 6 กรกฎาคม 2559.
Hospital Safety Model: Move by CoP
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
Risk Management System
Template of Quality Report for CLT/PCT
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
แผนกลยุทธ์ กรมชลประทาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
Risk Management in New HA Standards
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
Template of Quality Report for CLT/PCT
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
ทีม โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
สรุปผลการตรวจราชการฯ
กลไกลการขับเคลื่อนนโยบายความปลอดภัยทางงถนน
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
CLT Profile ภาควิชา/ทีมนำทางคลินิก
Efficiency & Competitiveness Support Factor & Strategy Driver
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทพญ. เรวดี ศรีหานู

ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ

ภาพรวมของการ พัฒนาคุณภาพ ทีมนำกำหนดนโยบาย เข็ม มุ่ง สนับสนุนงานคุณภาพ และ ติดตามกำกับ ทีมระบบงานกำหนดตัวชี้วัด และติดตามความก้าวหน้า มีการเชื่อมโยงการทำงาน ระหว่างหน่วยงานทีมระบบงาน วิชาชีพ Clinical CQI

12 กิจกรรมทบทวน ทบทวนทุกหน่วยงาน ติดตามตัวชี้วัด ปรับระบบงาน ผลลัพธ์ทาง คลินิกมีแนวโน้มดีขึ้น

ระบบบริหารความ เสี่ยง การค้นหาความเสี่ยงเน้นการ ค้นหาเชิงรุกมากขึ้น การค้นหาความเสี่ยงจากเวช ระเบียน, trigger tool จัดลำดับความสำคัญความ เสี่ยง เช่น risk matrix

ระบบบริหารความ เสี่ยง กิจกรรม RCA ( ความรุนแรง สูง, ความรุนแรงต่ำที่เกิดบ่อย ) มาตรการป้องกันความเสี่ยง ได้ผล Human Factor Engineering ความเสี่ยงสำคัญที่มีความ รุนแรงสูงไม่เกิดซ้ำ

ระบบบริหารความ เสี่ยง มีการนำระบบสารสนเทศมาใช้ เชื่อมโยงข้อมูล วิเคราะห์และทราบแนวโน้ม ความเสี่ยงใน รพ. ประเมินประสิทธิภาพระบบ บริหารความเสี่ยง Hospital Survey On Patient Safety Culture

องค์กรพยาบาล ประเมินความพอเพียง กำลังคน / สมรรถนะโดยเฉพาะ หน่วยงานความเสี่ยงสูง Training need ควรสัมพันธ์ กับโรคสำคัญของ รพ. อุบัติการณ์ แผนกลยุทธ์ของ รพ. การบันทึกทางการพยาบาล ควรเน้นการบันทึกด้านคุณภาพ มากขึ้น

องค์กรพยาบาล วางระบบบริหารความเสี่ยง ไม่ควรแยกออกจากระบบ ใหญ่ของ รพ. การนิเทศทางคลินิก กระบวนการพยาบาลควร เหมาะสมกับปัญหาและความ เสี่ยงของผู้ป่วย ปรับปรุงระบบงานร่วมกับสห วิชาชีพ

องค์กรแพทย์ แพทย์เป็นผู้นำและชี้ทิศทาง งานคุณภาพ แพทย์ควรมีส่วนร่วมเป็น คณะกรรมการทีมนำระบบงาน ของ รพ. เป็นผู้นำการทบทวนผู้ป่วย กลุ่มต่างๆ, การตามรอยทาง คลินิก นำความรู้ทางวิชาการที่ ทันสมัยมาปรับระบบงาน

โครงสร้างอาคารและ สิ่งแวดล้อม 5 ส อาคารที่ต่อเติมจากอาคารเดิม ได้รับการตรวจสอบจาก ผู้เชี่ยวชาญ ออกแบบอาคารและจัด สิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ป่วยกลุ่ม เฉพาะโรค ระบบระบายอากาศที่ดี การ จัดการกับผู้ป่วยกลุ่มโรคระบบ ทางเดินหายใจ

โครงสร้างอาคารและ สิ่งแวดล้อม การประเมินความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมเชิงรุก การประเมิน ความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัย การจัดทำแผนบริหารความ เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม การจัดลำดับความสำคัญของ แผนงานด้านสิ่งแวดล้อม

วัสดุและของเสีย อันตราย มีบัญชีวัสดุและของเสีย อันตรายภาพรวมรพ. ติดตามการปฏิบัติของ เจ้าหน้าที่ตามแนวทาง การจัดการกับภาวะ ฉุกเฉิน วิเคราะห์ภาวะฉุกเฉินที่รพ. มี โอกาสประสบ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ ภาวะฉุกเฉิน

อัคคีภัย ความพร้อมใช้อุปกรณ์ ควบคุมอัคคีภัย ซ้อมแผนอัคคีภัยร่วมกับ องค์กรภายนอกและซ้อมแผน นอกเวลาราชการ ประเมินผลการซ้อมแผนและ นำจุดอ่อนของการซ้อมแผน รอบที่แล้วมาปรับแผนปัจจุบัน

เครื่องมือ มีแผนเครื่องมือระดับ รพ. ทราบว่ามีเครื่องมือใดอยู่ที่ หน่วยงานใดบ้าง แผนการยืม เครื่องมือ ระบบบำรุงรักษาเครื่องมือเชิง ป้องกัน เครื่องมือช่วยชีวิตเพียงพอ พร้อมใช้

ระบบสาธารณูปโภค การบำรุงรักษาประจำวัน แนวทางปฏิบัติฉุกเฉินเมื่อ ระบบมีปัญหา

ระบบบำบัดน้ำเสีย ขนาดเหมาะสมกับปริมาณน้ำ เสียของ รพ. monitor ระบบและการ ตรวจสอบคุณภาพ น้ำทิ้ง ประจำวัน การแปลผลคุณภาพน้ำทิ้ง early warning sign

ระบบกำจัดขยะ เป็นระบบปิดเพื่อป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ การคัดแยกขยะ การ เคลื่อนย้าย พักและกำจัดขยะ ถูกต้องตามประเภทของขยะ สถานที่พักขยะถูกต้องตาม มาตรฐาน การทำความสะอาดถังขยะ สถานที่พักขยะ

การป้องกันและควบคุม การติดเชื้อ ออกแบบระบบเหมาะสมกับ บริบทของ รพ. ICN ไม่ได้ทำงานคนเดียว ระบบสารสนเทศมาช่วยการ ทำงาน SIMPLE ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ในพื้นที่สำคัญ อัตราการติดเชื้อสำคัญของ รพ.

การป้องกันและควบคุม การติดเชื้อ หน่วยซักฟอก หน่วยจ่าย กลาง ครอบคลุมกิจการอิสระ เช่น ไตเทียม ความร่วมมือกับองค์กร ภายนอกในการควบคุมการ ระบาด ปรับปรุงระบบจากการระบาด ที่เคยเกิดขึ้น