ทพญ. เรวดี ศรีหานู
ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ
ภาพรวมของการ พัฒนาคุณภาพ ทีมนำกำหนดนโยบาย เข็ม มุ่ง สนับสนุนงานคุณภาพ และ ติดตามกำกับ ทีมระบบงานกำหนดตัวชี้วัด และติดตามความก้าวหน้า มีการเชื่อมโยงการทำงาน ระหว่างหน่วยงานทีมระบบงาน วิชาชีพ Clinical CQI
12 กิจกรรมทบทวน ทบทวนทุกหน่วยงาน ติดตามตัวชี้วัด ปรับระบบงาน ผลลัพธ์ทาง คลินิกมีแนวโน้มดีขึ้น
ระบบบริหารความ เสี่ยง การค้นหาความเสี่ยงเน้นการ ค้นหาเชิงรุกมากขึ้น การค้นหาความเสี่ยงจากเวช ระเบียน, trigger tool จัดลำดับความสำคัญความ เสี่ยง เช่น risk matrix
ระบบบริหารความ เสี่ยง กิจกรรม RCA ( ความรุนแรง สูง, ความรุนแรงต่ำที่เกิดบ่อย ) มาตรการป้องกันความเสี่ยง ได้ผล Human Factor Engineering ความเสี่ยงสำคัญที่มีความ รุนแรงสูงไม่เกิดซ้ำ
ระบบบริหารความ เสี่ยง มีการนำระบบสารสนเทศมาใช้ เชื่อมโยงข้อมูล วิเคราะห์และทราบแนวโน้ม ความเสี่ยงใน รพ. ประเมินประสิทธิภาพระบบ บริหารความเสี่ยง Hospital Survey On Patient Safety Culture
องค์กรพยาบาล ประเมินความพอเพียง กำลังคน / สมรรถนะโดยเฉพาะ หน่วยงานความเสี่ยงสูง Training need ควรสัมพันธ์ กับโรคสำคัญของ รพ. อุบัติการณ์ แผนกลยุทธ์ของ รพ. การบันทึกทางการพยาบาล ควรเน้นการบันทึกด้านคุณภาพ มากขึ้น
องค์กรพยาบาล วางระบบบริหารความเสี่ยง ไม่ควรแยกออกจากระบบ ใหญ่ของ รพ. การนิเทศทางคลินิก กระบวนการพยาบาลควร เหมาะสมกับปัญหาและความ เสี่ยงของผู้ป่วย ปรับปรุงระบบงานร่วมกับสห วิชาชีพ
องค์กรแพทย์ แพทย์เป็นผู้นำและชี้ทิศทาง งานคุณภาพ แพทย์ควรมีส่วนร่วมเป็น คณะกรรมการทีมนำระบบงาน ของ รพ. เป็นผู้นำการทบทวนผู้ป่วย กลุ่มต่างๆ, การตามรอยทาง คลินิก นำความรู้ทางวิชาการที่ ทันสมัยมาปรับระบบงาน
โครงสร้างอาคารและ สิ่งแวดล้อม 5 ส อาคารที่ต่อเติมจากอาคารเดิม ได้รับการตรวจสอบจาก ผู้เชี่ยวชาญ ออกแบบอาคารและจัด สิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ป่วยกลุ่ม เฉพาะโรค ระบบระบายอากาศที่ดี การ จัดการกับผู้ป่วยกลุ่มโรคระบบ ทางเดินหายใจ
โครงสร้างอาคารและ สิ่งแวดล้อม การประเมินความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมเชิงรุก การประเมิน ความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัย การจัดทำแผนบริหารความ เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม การจัดลำดับความสำคัญของ แผนงานด้านสิ่งแวดล้อม
วัสดุและของเสีย อันตราย มีบัญชีวัสดุและของเสีย อันตรายภาพรวมรพ. ติดตามการปฏิบัติของ เจ้าหน้าที่ตามแนวทาง การจัดการกับภาวะ ฉุกเฉิน วิเคราะห์ภาวะฉุกเฉินที่รพ. มี โอกาสประสบ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ ภาวะฉุกเฉิน
อัคคีภัย ความพร้อมใช้อุปกรณ์ ควบคุมอัคคีภัย ซ้อมแผนอัคคีภัยร่วมกับ องค์กรภายนอกและซ้อมแผน นอกเวลาราชการ ประเมินผลการซ้อมแผนและ นำจุดอ่อนของการซ้อมแผน รอบที่แล้วมาปรับแผนปัจจุบัน
เครื่องมือ มีแผนเครื่องมือระดับ รพ. ทราบว่ามีเครื่องมือใดอยู่ที่ หน่วยงานใดบ้าง แผนการยืม เครื่องมือ ระบบบำรุงรักษาเครื่องมือเชิง ป้องกัน เครื่องมือช่วยชีวิตเพียงพอ พร้อมใช้
ระบบสาธารณูปโภค การบำรุงรักษาประจำวัน แนวทางปฏิบัติฉุกเฉินเมื่อ ระบบมีปัญหา
ระบบบำบัดน้ำเสีย ขนาดเหมาะสมกับปริมาณน้ำ เสียของ รพ. monitor ระบบและการ ตรวจสอบคุณภาพ น้ำทิ้ง ประจำวัน การแปลผลคุณภาพน้ำทิ้ง early warning sign
ระบบกำจัดขยะ เป็นระบบปิดเพื่อป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ การคัดแยกขยะ การ เคลื่อนย้าย พักและกำจัดขยะ ถูกต้องตามประเภทของขยะ สถานที่พักขยะถูกต้องตาม มาตรฐาน การทำความสะอาดถังขยะ สถานที่พักขยะ
การป้องกันและควบคุม การติดเชื้อ ออกแบบระบบเหมาะสมกับ บริบทของ รพ. ICN ไม่ได้ทำงานคนเดียว ระบบสารสนเทศมาช่วยการ ทำงาน SIMPLE ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ในพื้นที่สำคัญ อัตราการติดเชื้อสำคัญของ รพ.
การป้องกันและควบคุม การติดเชื้อ หน่วยซักฟอก หน่วยจ่าย กลาง ครอบคลุมกิจการอิสระ เช่น ไตเทียม ความร่วมมือกับองค์กร ภายนอกในการควบคุมการ ระบาด ปรับปรุงระบบจากการระบาด ที่เคยเกิดขึ้น