ปราณี ประไพวัชรพันธ์ ( ป้าแพรว ) ผอ. รพสต. นาราก ต. อรพิมพ์ อ. ครบุรี ประธานชมรมรพสต. และหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตนครชัยบุรินทร์ Face book เครือข่าย ROF
เราต้องทำอะไรบ้าง ทบทวนแผนที่ส่ง ทบทวนเนื้อหา ขออนุมัติโครงการ ดำเนินการตามโครงการ (หลักฐานตามรายละเอียดโครงการที่เขียนตามเงินบำรุง) เยี่ยมบ้านและจะจัดกิจกรรมตามโครงการ เลือกกรณีศึกษา เยี่ยมบ้าน ROF สรุปส่ง การบันทึกข้อมูลในแฟ้ม HOSxp เขียนรายงานสรุปส่ง จังหวัด เขต ชมรม (ขอไฟล์)
3 ขั้นตอนการเขียนรายงานขั้นตอนการเขียนรายงาน
การเตรียมการ การเลือก กรณีศึกษา การเก็บข้อมูล การเขียน case 4
การเตรียมการ กำหนดกรอบแนวทางในการเขียน อ่านเอกสาร ที่มีคนเขียนไว้แล้ว กำหนดหัวข้อและรูปแบบ 5
การเลือกกรณีศึกษา 1. เลือกผู้ป่วยที่ศึกษาเน้นความ ต่อเนื่อง 2. กำหนดระยะเวลาให้ชัดเจน 3. จัดทำแผนการเยี่ยมและเก็บ ข้อมูล 4. กำหนดผู้ประสานงานแทน ต่อเนื่อง 5. เลือกผู้ป่วยที่แตกต่าง และ น่าสนใจค้นหาคำตอบ 6. คนป่วยที่มีโอกาสดีขึ้น 6
การเขียนรายงาน เขียนแบบรางานการวิจัยเชิงคุณภาพ เขียนแบบเรื่องเล่า เขียนรายงานตามรูปแบบทางการ พยาบาล 7
การรายงานผลโครงการแบบ รายงานการวิจัย บทที่ 1บทนำ สภาพปัญหาและความ ความจำเป็น วัตถุประสงค์ ขอบเขตของโครงการ นิยามศัพท์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โครงการที่เขียน โรคหรือปัญหาของผู้ป่วย บริบทของชุมชนและ หน่วยงาน หลักการแนวคิดทฤษฎีที่ เกี่ยวกับการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 8
บทที่ 3 ระบวนการพัฒนา รูปแบบการพัฒนา (รูปแบบการวิจัย) ขั้นตอนการพัฒนา (ดำเนินงาน) ประชากรกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4ผลลัพธ์ของการ พัฒนา ผลลัพธ์ด้านกระบวนการพัฒนา (แต่ละขั้นตอน) ผลลัพธ์ที่ได้จากการพัฒนา (เชิงผลผลิต) ผลลัพธ์ต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วย 9 บทที่ 5สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง รูปแบบการพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ประเมินผล อภิปรายผลข้อเสนอแนะ
การเขียนรายงานกรณีศึกษา บทที่ 1บทนำ บริบทชุมชนและหน่วยงาน ข้อมูล เบื้องต้น และแผนที่เดินดินคร่าวๆ ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย และ ครอบครัว ผังเครือญาติ (วิเคราะห์ เครือญาติที่อยู่ในบ้านด้วย) /ชุมชน ที่เกี่ยวข้อง ประเมินปัญหาของผู้ป่วยด้วย หลัการ INHOMESSS และ สรุป ปัญหาของผู้ป่วยที่ต้องเยี่ยมบ้าน วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน บทที่ 2 ทบทวน วรรณกรรมและวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ทบทวนโรค และ ปัญหาที่พบจาก ผู้ป่วย หลักการแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับ การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 10
รายงานกรณีศึกษาต่อ บทที่ 3 กระบวนการเยี่ยมบ้าน รูปแบบการการเยี่ยมบ้าน ขั้นตอนการเยี่ยมแต่ละครั้ง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละ ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการเยี่ยม บ้าน บทที่ 4 ผลลัพธ์ของการเยี่ยมบ้าน ผลลัพธ์แต่ละขั้นของการเยี่ยม บ้าน จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม (เชิงผลผลิต) นวัตกรรมที่ได้จากการเยี่ยมบ้าน ผลลัพธ์ต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วย เป็นเช่นไร 11 บทที่ 5สรุปผล อภิปรายผล และอเสนอแนะข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ภาพถ่าย
การเขียนเรื่องเล่าจากประสบการณ์ วางโครงเรื่อง เช่นเดียวกันกับการ เขียนเรียงความดังนี้ คำนำ เป็นตอนเปิดเรื่อง หรือส่วนที่ จะชักจูงใจให้ผู้อ่านติดตามต่อไป เนื้อความหรือเนื้อเรื่อง เป็น ใจความส่วนใหญ่ของเรื่อง สรุปหรือลงท้าย เป็นการสรุป ความคิดหรือการนำเอาข้อความ สำคัญมากล่าวย้ำให้เด่นชัด ควรใช้ภาษาให้เร้าความสนใจ น่า ติดตามอ่าน การเขียน เนื้อเรื่อง เขียนให้มีแนวคิดอย่าง เดียว ไม่พูดนอกเรื่อง หรือหยุมหยิมเกินจำเป็น เขียนให้ทุกส่วนทุกตอน ของเรื่องสัมพันธ์กันโดย ตลอด รู้จักเน้นในส่วนที่สำคัญ เขียนให้สมบูรณ์ ไม่ทิ้ง ส่วนที่สำคัญ เขียนให้มีความชัดเจน ถูกต้อง เขียนตามลำดับ เนื้อความของเรื่อง แต่ละย่อหน้าต้องมี ความสัมพันธ์กัน การเขียนประโยค เนื้อความ
การเขียนกรณีศึกษาROF 1. ชื่อเรื่อง 2. ชื่อผู้เขียน 3. บทนำหรือคำ นำ ไม่เกิน1 หน้า 4. เนื้อเรื่อง ตามกระบวนการพัฒนา เพื่อให้ผู้อ่านเห็นตามที่เขียนดังนี้ 4.1. มูลเหตุหรือแรงจูงใจ 4.2. บริบทของผู้ป่วย/ครอบครัว ใช้ INHOMESSS เป็นข้อมูลในการเขียน 4.3.กิจกรรมที่ดำเนินการตามลำดับ จุดเน้นที่ใช้หลักการสร้างสัมพันธภาพบนผัง เครือญาติอย่างไร 4.4.ผลลัพธ์ที่ได้จากการเยี่ยมบ้าน 4.5. แต่ละขั้นตอนสามารถใส่ภาพ กิจกรรมได้ 13 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
สวัสดีคะ