มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สถานการณ์การเงิน เขตสุขภาพที่ 4.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 วันที่ 20 กุมภาพันธ์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การเงินการคลัง โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2560
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา Problem
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
PLANFIN 60 เขตสุขภาพที่ 12.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ

ภารกิจกลุ่มงานประกันสุขภาพ ภารกิจที่ 1 งานลงทะเบียนผู้มีสิทธิ ภารกิจที่ 2 การตรวจประเมินหน่วยบริการเพื่อการขึ้น ทะเบียน ภารกิจที่ 3 การควบคุมกำกับคุณภาพหน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการ ภารกิจที่ 4 การส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ท้องถิ่น / ภาคีเครือข่าย ภารกิจที่ 5 การคุ้มครองสิทธิ การรับเรื่องร้องเรียน ภารกิจที่ 6 การบริหารการชดเชย ภารกิจที่ 7 การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพใน ระดับจังหวัด ภารกิจที่ 8 การสนับสนุนการดำเนินงานของ คณะอนุกรรมการ ภารกิจที่ 9 โครงการบริหารจัดการโรคเฉพาะ ( กรณี ฟอกเลือดล้างไต )

1. การบริหารการเงินการคลัง เป้าหมายผลสำเร็จ : ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาทางการเงิน ระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ เกณฑ์เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 3 สถานการณ์  ระดับภาวะวิกฤตไม่ควรเกินระดับ 4 สถานการณ์ เดือนพฤศจิกายน 2558 มีโรงพยาบาลบางน้ำเปรี้ยว ประสบภาวะวิกฤต ระดับ 6

ตัวชี้วัดของกลุ่มงานประกันสุขภาพ  (M 19-R 6) ประสิทธิภาพของการบริหาร การเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่

ดัชนีทางการเงิน 5 ดัชนี ประเมินภาวะวิกฤต  อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) ไม่ต่ำกว่า 1.5 เท่า  อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) ไม่ต่ำกว่า 1.0 เท่า  อัตราส่วนเงินสด (Cash ratio) ไม่ต่ำกว่า 0.80 เท่า  เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net Working Capital) ไม่ติดลบ  กำไรสุทธิรวมค่าเสื่อมราคาสะสม (Net income+Depleciation) ไม่ติดลบ

ประเด็นการตรวจราชการที่ มุ่งเน้น  1. มีคณะทำงานและกลไกในการแก้ไขปัญหาการเงิน  2. หน่วยบริการมีและใช้แผนทางการเงิน (Planfin)  3. หน่วยบริการมีการจัดทำและใช้ต้นทุนบริการ (Unitcost)  4. หน่วยบริการมีการพัฒนาระบบการประเมิน ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI พื้นที่ดำเนินการ  หน่วยบริการในสังกัด สป. สธ. ระดับ รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง 6

มาตรการดำเนินงานในพื้นที่แนวทางการตรวจติดตาม 1.มีคณะทำงานและกลไกการ ทำงานร่วม เพื่อแก้ไขปัญหาใน พื้นที่ สำหรับ รพ.ที่มีปัญหา การเงิน 1.คณะทำงานร่วมในระดับเขต จังหวัด อำเภอ เพื่อแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการบริการและประสิทธิภาพ การเงินการคลังให้กับ รพ. ที่มีปัญหา ทางการเงิน 2.มีการกำหนดประเด็นที่เป็นปัญหา ของหน่วยบริการที่ต้องได้รับการ แก้ไข 2.หน่วยบริการ "มี" และ "ใช้“ แผนทางการเงิน Planfin เพื่อ เป็นเครื่องมือในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลังหน่วยบริการ 1. หน่วยบริการได้มีการจัดทำแผน ทางการเงิน (Plan fin) และใช้แผน ทางการเงินเป็นเครื่องมือในการ พัฒนาระบบการเงินและระบบบริการ ที่มีประสิทธิภาพ 2.ติดตามกำกับผลการดำเนินงานใน ทุกไตรมาส 7

มาตรการดำเนินงานในพื้นที่แนวทางการตรวจติดตาม 3. หน่วยบริการมีการพัฒนา การจัดทำต้นทุนบริการ / Unit cost เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการบริหาร 1. มีการพัฒนาการจัดทำต้นทุนของ หน่วยบริการ โดยใช้ข้อมูลของ ปี มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล ต้นทุนบริการกับค่าเฉลี่ยของหน่วย บริการระดับเดียวกัน 4. มีการพัฒนาระบบ การประเมินประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง FAI 1.ติดตามการดำเนินงานตามกิจกรรม ทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบควบคุมภายใน 2) การพัฒนาคุณภาพบัญชี 3) การเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารการเงินการคลัง 4) การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ 8

FAI : financial administration index ระดับความสำเร็จการบริหารการเงิน การคลัง  การควบคุมภายใน  การพัฒนาคุณภาพบัญชี  การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร การเงินการคลัง  การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ

เกณฑ์การให้คะแนน คะแ นน ระดับ วิกฤ ต

The end