ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Advertisements

คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
ระบบงานสำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับตำบล สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
El Niño - La Niña History –1600’s : Peruvians noticed that around Christmas time during certain years there was a lot less fish off shore –Named this.
เพิ่มเติม. แนะนำการการโปรโมทเว็บไซต์ 1. การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการเว็บได เร็กทอรี่ (Web Directory) - yahoo.com, google.com 2. การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการของ.
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
การบริหารงบประมาณ. รายงานผลการใช้จ่ายเงิน จัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน จัดทำคำของบประมาณ.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้อง ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกแดง ทำเนียบรัฐบาล 1.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
1. ประชุมปรึกษาหารือครูแนะแนวทั้งหมด 2. ประชุมรองผู้อำนวยการ 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม สาระระ หัวหน้างาน และครูแนะแนวทุกคน ของ โรงเรียนศรียาภัย 3. กำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษา.
(Phranakhon Rajabhat University). คู่มือการใช้งานโปรแกรม WORDPRESS.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
Google Documents Chaowalit Budchang
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
การเขียนจดหมายธุรกิจ
จัดทำโดย นายณัฐศุภญกร ตานาคา ปวส.2/5 การตลาด นางสาวสุพัตรา แจ่มมั่งคั่ง ปวส.2/5 การตลาด นางสาวสุวนันท์ ธรรมจิตร ปวส.2/5 การตลาด
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
สำนักงานคลังจังหวัดแพงเพชร
การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
ADM 2301 การสื่อสารการตลาดในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
อรกัญญา เมธา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
หลักการ และ กระบวนการขายออนไลน์
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 28 กันยายน 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 กันยายน 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ธันวาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 31 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 1 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 31 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 8 สิงหาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 1

วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๙/๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๓เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยที่ สบอช(กบอ)/ ๒๘๖ เรื่อง รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๓.๒สำเนาหนังสือกรมชลประทาน ที่ กษ ๐๓๒๗/๗๕๐๐ เรื่อง ขอปรับแผนการระบายน้ำจากอ่าง เก็บน้ำภูมิพลและอ่างเก็บน้ำสิริกิติ์ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๔เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ๔.๒ร่างรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ของคณะทำงาน ณ วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๕เรื่องอื่น ๆ ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและ จัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๕ 2

3 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา 3 ๔.๑ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ๑.กรมชลประทาน โดยให้ สชป.2 ในพื้นที่ประสานกับกลุ่มผู้ใช้น้ำบริเวณคลองสิงห์เรื่องการใช้ stop log อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.กรมชลประทาน และ กทม. จัดทำแผนการพร่องน้ำในพื้นที่เจ้าพระยาตอนล่างเพื่อนำเสนอ นรม. ในวันพฤหัส และเตรียมการทดสอบการระบายน้ำที่จะดำเนินการในกลางเดือนสิงหาคม พร้อมกับ พิจารณาเลือกคลองระบายที่จะใช้ในการทดสอบ โดยควบคุมปริมาณน้ำให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ ๓.กฟผ. ส่งข้อมูลข้อจำกัดการระบายน้ำของเขื่อนอื่นๆเพิ่มเติม และกรมชลประทานจะรายงานผลสรุป จากการประชุม workshop ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงเกณฑ์เตือนภัยในลำน้ำให้เป็น ชุดเดียวกัน และสามารถใช้ได้ในทางปฏิบัติ ๔.การแบ่งโครงสร้างแบบจำลองตามความละเอียด โดยคณะทำงานจะดูแลแบบจำลองระดับลุ่มน้ำ เพื่อประเมินสถานการณ์ในภาพรวม ส่วนแบบจำลองในระดับละเอียดในแต่ละพื้นที่ ให้แต่ละ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบเป็นผู้ดูแล (กรมชลประทาน, กรมทรัพยากรน้ำ, สำนักการระบายน้ำ และ กฟผ.) ๕.เมื่อรวบรวมข้อมูลข้อจำกัดของลำน้ำครบถ้วนแล้ว คณะทำงานจะนำไปประยุกต์ใช้กับแบบจำลอง น้ำท่วมและน้ำแล้งในระดับลุ่มน้ำและจะเริ่มทำการ optimization ซึ่งคาดว่าจะเริ่มได้ผลการ วิเคราะห์เบื้องต้นในเดือน สิงหาคม 2555

4 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา 4 ๔.๑ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน (ต่อ) ๖. กรมทรัพยากรน้ำ จัดทำสมดุลน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๗. สสนก. ทบทวนการคาดการณ์ปริมาณน้ำที่จะไหลเข้าเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และเพิ่มเติมเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการเลือก scenario ในการบริหารจัดการน้ำ

สถานการณ์น้ำแม่น้ำโขง สถานการณ์น้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำโขง ( วันที่ 26 ก. ค.55) อ. เชียงแสน จ. เชียงราย ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ 4.02 ม. ต่ำกว่า ตลิ่ง 7.78 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ. เชียงคาน จ. เลย ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ 8.76 ม. ต่ำกว่าตลิ่ง 8.64 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ. เมือง จ. หนองคาย ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ 6.28 ม. ต่ำกว่า ตลิ่ง 5.92 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ. เมือง จ. นครพนม ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ 5.69 ม. ต่ำกว่า ตลิ่ง 7.01 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ. เมือง จ. มุกดาหาร ระดับตลิ่ง ม. ระดับน้ำ 5.26 ม. ต่ำกว่า ตลิ่ง 7.34 ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น อ. โขงเจียม จ. อุบลราชธานี ระดับ ตลิ่ง ม. ระดับน้ำ 5.48 ม. ต่ำ กว่าตลิ่ง ม. แนวโน้มเพิ่มขึ้น ระดับน้ำในลุ่มน้ำโขง มีระดับน้ำ สถานการณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ แนวโน้มเพิ่มขึ้น

แบบจำลอง MIKE BASIN

การรายงานผลสรุปปริมาณน้ำที่ขาดแคลนในรูปแบบไฟล์ Excel ผลลัพธ์ของแบบจำลอง

8 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา 8 ๔.๒การวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ๑. ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว ๒. การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า ๓. วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์

9 สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ ๒๐ ก.ค. ๒๕๕๕ ๑.เฝ้าติดตามพายุดีเปรสชั่นบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ที่จะทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุหมุนเขตร้อน และอาจเคลื่อนลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนบนตามแนวร่องมรสุม ทำให้มีฝนเพิ่มขึ้นในภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนในสัปดาห์หน้า ๒.เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ เนื่องจากมีปริมาณน้ำไหลลงเพิ่มขึ้น ค่อนข้างมาก และในสัปดาห์หน้ามรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะยังคงพัดปกคลุมซึ่งอาจส่งผลให้มี ฝนตกต่อเนื่องในพื้นที่เหนือเขื่อน ๓.การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในช่วงที่ผ่านมา (๑ ม.ค. ถึง ๑๘ ก.ค. ๕๕) เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี ๑,๑๘๗ ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย ๑๔% เขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี ๑,๕๘๙ ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย ๙% แต่จากการระบายน้ำเพื่อการเกษตรและป้องกันอุกทกภัยตามแผนที่ผ่านมา ทำให้ ปัจจุบันเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ยังสามารถรับน้ำได้อีก ๗,๓๗๓ ล้าน ลบ.ม. และ ๕.๓๖๙ ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ในระยะต่อไปเสนอให้บริหารจัดการน้ำของเขื่อนทั้ง ๒ แห่ง ดังนี้

10 สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ ๒๐ ก.ค. ๒๕๕๕ (ต่อ) ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง ๑ พ.ย. ๕๕)  คาดการณ์ว่าจะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนภูมิพลในเกณฑ์น้ำปานกลาง และจะมีน้ำไหลเข้า เขื่อนสิริกิติ์ในเกณฑ์น้ำมาก ระยะสั้น (๑๙-๒๕ ก.ค. ๕๕)  เขื่อนภูมิพล เสนอให้ยังคงการระบายอยู่ที่วันละ ๑๐ ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ ๒๒ ก.ค. ๕๕ หลังจากนั้นจะลดการระบายลงเหลือวันละ ๕ ล้านลูกบาศก์เมตร  เขื่อนสิริกิติ์ เสนอให้ยังคงการระบายอยู่ที่วันละ ๑๒ ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ ๒๒ ก.ค. ๕๕ หลังจากนั้นจะลดการระบายลงเหลือวันละ ๘ ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณฝน ช่วงวันที่ ๑๙-๒๕ ก.ค. ๕๕ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลาง จะส่งผลให้มีฝนตก บริเวณภาคเหนือและด้านตะวันตกของประเทศ ประกอบกับพายุเปรสชั่นบริเวณประเทศ ฟิลิปปินส์ ที่จะทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุหมุนเขตร้อนและอาจเคลื่อนลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนบน ตามแนวร่องมรสุม ทำให้มีฝนเพิ่มขึ้นในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว 26 กรกฎาคม 2555

พายุ “วีเซนเต(VICENTE)” ที่มา :

แผนภาพฝนสะสมรายวัน (21-24 ก.ค.55) 23 ก.ค ก.ค ก.ค ก.ค. 55

เรดาร์สกลนคร (22-25 ก. ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 24 ก.ค ก.ค ก.ค ก.ค. 55

เรดาร์เชียงราย (22-25 ก. ค. 55) ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 24 ก.ค ก.ค ก.ค ก.ค. 55

เรดาร์อมก๋อย (22-25 ก. ค. 55) ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร 24 ก.ค ก.ค ก.ค ก.ค. 55

ฝนสะสมย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (24 ก.ค. 55 เวลา น.)

สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล รับน้ำได้อีก 7,381 ล้าน ลบ. ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำกักเก็บ 45% (25 ก. ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน 10 ล้าน ลบ.ม./วัน (25 ก.ค.55) ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต รับน้ำได้อีก 5,311 ล้าน ลบ. ม. 44% (25 ก. ค.55) 12 ล้าน ลบ.ม. (25 ก.ค55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน

สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ล้าน ลบ.ม. (20 ก.ค.55) ปัจจุบันมีปริมาณน้ำกักเก็บ 55% สามารถรับน้ำได้อีก 3,880 ล้าน ลบ. ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวันปริมาณน้ำระบายรายวัน ก.ค.55 ระบาย วันละ 30 ล้าน ลบ.ม.

สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่มา : กรมชลประทาน ปริมาณน้ำในอ่าง 12% (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 1 ล้าน ลบ.ม. (25 ก.ค.55) ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อย

ระดับน้ำในแม่น้ำยมที่สถานี YOM001 อ. ปง จ. พะเยา - ในวันที่ 24 ก.ค. 55 ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น 3.4 เมตรในเวลา 11 ชั่วโมง ( น.) - ช่วงเวลา น. ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เฉลี่ยชั่วโมงละ 50 ซม. ปัจจุบันสถานการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ ระดับตลิ่ง ม.รทก ม. รทก. (24 ก. ค. 55 : น.) ม. รทก. (26 ก. ค. 55 : น.)

ระดับน้ำในแม่น้ำยมที่สถานี Y.1C อ. เมือง จ. แพร่ เฝ้าติดตาม ปริมาณน้ำเพิ่มสูงขึ้นค่อนข้างมากช่วงวันที่ ก. ค ก. ค. 58 ลบ. ม./ วิ 23 ก. ค. 54 ลบม./ วิ 24 ก. ค. 55 ลบ. ม./ วิ 25 ก. ค. 400 ลบ. ม./ วิ 26 ก. ค. 650 ลบ. ม./ วิ 650 ลบม./ วิ (26 ก. ค. 55 )

สรุปสถานการณ์น้ำและ การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า 24

25 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม.) ช่วงวันที่ ก.ค. 55 รายละเอียดเพิ่มเติมรายละเอียดเพิ่มเติม 26 ก.ค ก.ค ก.ค. 55

การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม.) ช่วงวันที่ 29 ก.ค.-1 ส.ค รายละเอียดเพิ่มเติมรายละเอียดเพิ่มเติม 29 ก.ค ก.ค ก.ค ส.ค. 55

SSTA 23 กรกฎาคม ONI= -0.1 IOD = 0.03 PDO = -2.2 Ocean Nino Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (เมษายน-มิถุนายน) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5 o N-5 o S, 120 o -170 o W Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนมิถุนายนบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20 o N Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนมิถุนายน บริเวณ o E, 10 o S-10 o N และ E, 10 o S-0 o N ดัชนี PDO ต่ำกว่าปกติค่อนข้างมาก (แรงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าจาก -1.7 เป็น -2.2) ดัชนี ENSO เข้าสู่สภาพเป็นกลาง และมีแนวโน้มจะเปลี่ยนสภาพเป็น Elnino ช่วง กลางปีต่อเนื่องจนถึงปลายปี 2555 ดัชนี IOD ยังคงสภาพเป็นกลาง

แผนที่ฝนสะสมเดือนมิถุนายน 2555 OMT CMT เดือนมิถุนายน 55 ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวงจรการหมุนเวียนของอากาศ 2 กลุ่ม ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก (OMT) และมหาสมุทรอินเดีย (CMT)

คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล 29 กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนสิริกิติ์ กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนวชิราลงกรณ กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนภูมิพล

ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนสิริกิติ์

ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

สถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ที่มา : กรมชลประทาน 25 ก.ค. 2555

สถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา 25 ก.ค ที่มา : สสนก.

สภาพน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก-ตะวันตก ที่มา : กรมชลประทาน

ที่มา : ข้อมูลการเตือนภัยจาก web site ของจังหวัดสุโขทัย Y.4 Y.33 Y.3A Y.6 Y.1C สถานี Y.4 เมือง สุโขทัย CMS.** สถานี Y.33 อำเภอศรี สำโรง สถานี Y.3A อำเภอ สวรรคโลก สถานี Y.6 แก่งหลวง อำเภอ ศรีสัชนาลัย สถานี Y.1C บ้านน้ำโค้ง อำเภอ เมือง จ. แพร่ ความจุลำน้ำ (CMS.) CMS. 1, CMS. 2, CMS. 1, CMS. การเตือนภัยของจังหวัดสุโขทัย

ที่มา : กรมชลประทาน

การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ ประจำสัปดาห์

ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 26 กรกฎาคม 2555

44 ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 44 1)สถานการณ์สมดุลน้ำเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาพบว่า พื้นที่โดยรวมมีปริมาณฝนตกเฉลี่ยทั้ง สัปดาห์อยู่ในเกณฑ์เล็กน้อย-ปานกลาง (ยกเว้น Block 3 มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมาก) ความต้องการน้ำในภาพรวมมีแนวโน้มลดลงตั้งแต่สัปดาห์ที่ผ่านมา ทำให้ในภาพรวม สมดุลน้ำอยู่ในภาวะปกติ พื้นที่ Block 3 (ลุ่มน้ำยม) มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมาก ทำให้ มีปริมาณน้ำเกินสมดุลเป็นปริมาณมาก ส่งผลให้ระดับน้ำในลำน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และจากการตรวจสอบสถานการณ์ลำน้ำพบว่าระดับน้ำที่เพิ่มขึ้นสูงอาจส่งผลให้เกิดน้ำ ล้นตลิ่งในพื้นที่ท้ายน้ำ ดังนั้นจึงต้องติดตามสถานการณ์และเฝ้าระวังน้ำล้นตลิ่ง 2) สถานการณ์สมดุลน้ำในสัปดาห์หน้า จากการคาดการณ์ปริมาณฝน พบว่าจะมีฝนตก กระจายเล็กน้อย-ปานกลางในพื้นที่ตอนบน ส่วนทางตอนล่างโดยเฉพาะที่ Block 10 คาดการณ์ว่าจะมีฝนตกน้อย ความต้องการน้ำโดยเฉพาะในทุ่งเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก และตะวันตกถึงแม้ว่าแนวโน้มจะลดลง แต่เนื่องจากคาดการณ์ว่าฝนจะตกน้อย ดังนั้น อาจส่งผลให้ปริมาณน้ำต้นทุนไม่เพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งกรมชลประทานจะทำ การตรวจสอบการใช้น้ำกับโครงการในพื้นที่จริงต่อไป ส่วนพื้นที่อื่นๆ คาดว่าสมดุลน้ำจะ อยู่ในเกณฑ์ปกติ

45 สรุปข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน 45 1)เฝ้าระวังน้ำล้นตลิ่งในแม่น้ำยมบริเวณ อ. บางระกำ จ.พิษณุโลก เนื่องจากปัจจุบัน ปริมาณน้ำไหลผ่านที่ อ.เมือง จ.แพร่ อยู่ที่ 650 ลบ.ม./วิ (Y.1C สะพานบ้านน้ำโค้ง) ซึ่ง ยังไม่เกินความจุของลำน้ำในบริเวณดังกล่าว ทั้งนี้ในตอนล่างของแม่น้ำยมบริเวณ อ.บาง ระกำ ลำน้ำมีความจุเพียง 357 ลบ.ม./วิ ซึ่งอาจทำให้น้ำล้นตลิ่งได้ เสนอให้กรม ชลประทานและจังหวัดสุโขทัยร่วมกันบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ตอนล่างของแม่น้ำยม โดย อาศัย ปตร.หาดสะพานจันทร์ และคลองผันน้ำยม-น่าน เพื่อควบคุมการระบายน้ำลงสู่ แม่น้ำยมตอนล่างและไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย 2)เฝ้าติดตาม ฝนตกมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและด้านตะวันตกของประเทศ ช่วงวันที่ 30 ก.ค. – 1 ส.ค. 55 เนื่องจากร่องมรสุมที่พาดผ่านประเทศพม่าและเวียดนามตอนบน และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มีกำลังแรงขึ้น 3)คาดการณ์สถานการณ์ฝน คาดการณ์ฝนทั่วประเทศด้วยดัชนี ONI, PDO และ IOD พบว่าแนวโน้มของปริมาณฝน ปี 2555 มีความคล้ายคลึงกับปี 2551 และปี 2552 (เกณฑ์ฝนปานกลาง) ล่วงหน้า 3 เดือน ประเทศไทยจะมีฝนมากในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคเหนือฝั่งตะวันออก ล่วงหน้า 1 เดือน ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรง ซึ่งจะส่งผลให้ด้านตะวันตกของประเทศและแนวรับลมมรสุมมีฝนตกหนัก

46 สรุปข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน 46 4) การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในช่วงที่ผ่านมา (1 ม.ค. ถึง 25 ก.ค. 55) เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,252 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 11% เขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปี 1,736 ล้าน ลบ.ม. สูงกว่าค่าเฉลี่ย 4% แต่จากการระบายน้ำเพื่อการเกษตรและป้องกันอุกทกภัยตามแผนที่ผ่านมา ทำให้ ปัจจุบันเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ยังสามารถรับน้ำได้อีก 7,381 ล้าน ลบ.ม. และ 5,311 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ในระยะต่อไปเสนอให้บริหารจัดการน้ำของเขื่อนทั้ง 2 แห่ง ดังนี้ ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง 1 พ.ย. 55 )  การคาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่วันที่ 26 ก.ค. 55 ถึงวันที่ 1 พ.ย. 55 พบว่าเขื่อนภูมิพลจะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 5,339 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนสิริกิติ์ จะมี ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 4,434 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์จะมีปริมาณน้ำไหล เข้าสะสม 2,279 ล้าน ลบ.ม. โดยปริมาณน้ำไหลเข้าของทั้ง 3 เขื่อนอยู่ในเกณฑ์น้ำ ปานกลาง  ควรการบริหารเขื่อนทั้งสามจัดการน้ำโดยมีเป้าหมาย คือให้มีปริมาณน้ำกักเก็บใน เขื่อนภูมิพลไม่ต่ำกว่า 74% เขื่อนสิริกิติ์ไม่ต่ำกว่า 82% และป่าสักชลสิทธิ์ไม่ต่ำ กว่า 90% เมื่อสิ้นฤดูฝน เพื่อให้เขื่อนทั้งสามแห่ง มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อความ ต้องการใช้น้ำในช่วงฤดูแล้งต้นปี 2556 ระยะสั้น เสนอให้ลดการระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพล ลงเหลือวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร และคงการระบายน้ำที่เขื่อนสิริกิติ์วันละ 12 ล้านลูกบาศก์เมตร ตั้งแต่วันที่ 27 ก.ค. 55 เป็นต้นไป

47 ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา 47 ระเบียบวาระที่ ๕เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๕ สรุปข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการเสนอต่อ กบอ. วันศุกร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งต่อไป วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. สถานที่

48 จบการรายงาน

49

50 สถานการณ์น้ำ Block 9 และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

51 ปริมาณฝนสะสม Block 9 ปริมาณฝนสะสมตั้งแต่ เม.ย.-ปัจจุบัน ของพื้นที่ Block 9 (เขื่อนป่าสักฯ) อยู่ ในเกณฑ์ฝนน้อย น้อยกว่า ปี 2552 ซึ่งเป็นปีที่ปริมาณ ฝนน้อย

ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

53 ปริมาตรเก็บกักของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ปี 2553 (แล้งช่วงกลางปี น้ำท่วม ปลายปี) ปีน้ำน้อย 2543, 2547 ปีน้ำปานกลาง ล้าน ลบ.ม. (19 กค 55) ปีน้ำมาก 2554

54 คาดการณ์ปริมาณน้ำของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่มา : กรมชลประทานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ข้อมูล ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2555

ดัชนีในมหาสมุทร ONI PDO และ IOD ดัชนีทั้ง ONI PDO และ IOD ของปี 2555 ใกล้เคียงกับปี

สรุป 1.ปริมาณฝนสะสมของพื้นที่ Block 9 (เขื่อนป่าสักฯ) ตั้งแต่เดือน เม.ย.-ปัจจุบัน อยู่ใน เกณฑ์น้อย โดยอยู่ต่ำกว่าปริมาณฝนสะสมในปี 2552 ซึ่งเป็นปีที่มีฝนน้อยและเกิด สถานการแล้งต่อเนื่องมาถึงกลางปี สถานการณ์ปัจจุบันปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมและปริมาตรเก็บกักของเขื่อนป่าสักชล สิทธิ์อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย โดยปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมใกล้เคียงกับปี 2543 และปี 2548 ซึ่งเป็นปีน้ำน้อย 3.ปริมาตรเก็บกักในปัจจุบันอยู่ที่ 12% (17 กค 2555) ซึ่งอยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย ใกล้เคียง ระดับน้ำเก็บกักปี 2553 ซึ่งเป็นปีที่มีปัญหาแล้งในช่วงกลางปี แต่ทั้งนี้จากสถิติพบว่า ระดับน้ำท้ายฤดู (ก.ย.-ต.ค.) จะเพิ่มมากขึ้นและมากกว่าระดับเก็บกักทุกปี 4.จากการคาดการณ์สถานการณ์ระยะยาวด้วยดัชนี ONI, PDO และ IOD พบว่า แนวโน้มของปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ปี 2555 จะใกล้เคียง กับปี 2551 โดย คาดการณ์ว่าสภาพฝนในระยะ 3 เดือนข้างหน้า จะมีฝนมากในพื้นที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือฝั่งตะวันออก ซึ่งจะส่งผลให้มีปริมาณน้ำไหล เข้าเขื่อนป่าสักฯ เพิ่มมากขึ้น ณ สิ้นเดือน มีนาคม 2556 จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมอยู่ที่ประมาณ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50 (ใกล้เคียงกับปี 2551)

ดัชนี ONI IOD และ PDO เดือนพฤษภาคม เปรียบเทียบปี 2547 และ 2553 ดัชนีทางสมุทรศาสตร์เดือนพ.ค.ของปี 2547 และ 2553 มีค่าใกล้เคียงกันมาก

58 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนภูมิพล เปรียบเทียบปี 2547 และ 2553

59 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนสิริกิติ์ เปรียบเทียบปี 2547 และ 2553

60 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เปรียบเทียบปี 2547 และ 2553 สรุป: ในปีที่มีค่าดัชนีทางสมุทรศาสตร์ใกล้เคียงกัน พบว่า มีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมใกล้เคียงกันด้วย ดังนั้นจึงสามารถใช้ดัชนีทางสมุทรศาสตร์ในการคาดการณ์แนวโน้มของปริมาณน้ำไหลเข้าได้

ดัชนี ONI IOD และ PDO เดือนพฤษภาคม ปี 2555 เทียบกับปี 2551 และ 2552 ดัชนีทางสมุทรศาสตร์เดือนพ.ค.ของปี 2555 ใกล้เคียงกับปี 2551 และ 2552