งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน
สรุปสถานการณ์น้ำ ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน วันอังคาร ที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๑ สถานการณ์น้ำ สถานการณ์วิกฤตระดับ ๑ เวลาทำการ ๐๗.๓๐ – ๑๘.๓๐ น. สถานการณ์น้ำ ปัจจุบันวิกฤตระดับสอง (สีม่วง) เวลาทำการตั้งแต่ ถึง เริ่มวันศุกร์ ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๑

2 แผนที่อากาศวันนี้ (6 ต.ค. 51 )
จากแผนที่อากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา วันที่ 10 กันยายน 2551 ร่องความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรงพาดผ่านภาคกลางและภาคตะวันออก เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณชายฝั่งประเทศเวียดนามตอนล่าง ประกอบกับ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังปานกลางที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ทุกภาคของประเทศยกเว้นภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงมีฝนตกชุก และมีฝนตกหนักบางแห่ง ขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย เช่น บริเวณจังหวัดจันทบุรี ตราด พังงา ภูเก็ต และกระบี่ ระมัดระวังอันตรายจากสภาวะฝนตกหนักที่อาจจะทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากได้ในระยะนี้ สำหรับชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ ในระยะ 1-2 วันนี้ไว้ด้วย แผนที่อากาศวันนี้ (6 ต.ค. 51 ) เวลา น

3 แผนที่ลมชั้นบน ระดับ 600 เมตร

4 ปริมาณฝน ใกลเคียงค่าปกติ
ทิศทางและช่วงเวลาของลักษณะอากาศที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในช่วง เดือน ตุลาคม รองความกดอากาศต่ำจะเลื่อนลงมาพาดผานภาคใตตอนบน ทําใหมีฝนตกชุก สวนมากทางตอนบนของภาค ปริมาณฝน ใกลเคียงค่าปกติ ประเทศไทยตอนบนอยูในชวงกลางฤดูฝน ในระยะครึ่งแรกของเดือนรองความกดอากาศต่ำจะพาดผานประเทศจีนตอนใต และมรสุมตะวันตกเฉียงใตกําลังออนจะพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทยและอาวไทย เกือบตลอดชวง ทําใหปริมาณและการกระจายของฝนยังคงนอย จากนั้นรองความกดอากาศต่ําจะเลื่อนลงมาพาดผานภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดปกคลุมทะเล อันดามัน ประเทศไทยและอาวไทยจะมีกําลัง แรงขึ้น ทําใหปริมาณและการกระจายของฝนเพิ่มขึ้น ปริมาณฝน ใกลเคียงคาปกติ ภาคใต้ มรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดปกคลุมทะเล อันดามัน ภาคใตและอาวไทยจะมีกําลังแรงขึ้นในครึ่งหลังของเดือน ทําใหมีฝนเพิ่มขึ้น และภาคใตฝงตะวันตกจะมีฝนมากกวาฝงตะวันออก ปริมาณฝน สูงกวาคาปกติเล็กนอย

5 ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา
กราฟเปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม ปี 2550 และ 2551 กับค่าเฉลี่ย 30 ปี (พ.ศ ) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 6 ตุลาคม 2551 ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา

6 การคาดการณ์ฝน ปี 2551 การคาดหมายปริมาณฝนในภาคต่างๆช่วง เดือนตุลาคม พ.ศ.2551 การคาดการณ์ฝนของกรมอุตุฯ ในช่วงเดือน กันยายน 2551 ภาคเหนืออยู่ในเกณฑ์ มม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มม. ภาคกลาง มม. ภาคตะวันออก มม. ใกล้เคียงค่าปกติ ส่วน ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มม. ภาคใต้ฝั่งตะวันตก สูงกว่าค่าปกติ ต่ำกว่าค่าปกติ ต่ำกว่าค่าปกติเล็กน้อย ใกล้เคียงค่าปกติ สูงกว่าค่าปกติเล็กน้อย สุงกว่าค่าปกติ

7 สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำ โครงการขนาดใหญ่และขนาดกลาง
6 ตุลาคม 2551 สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ 31 แห่ง ความจุ 68,489 ล้าน ลบ.ม. มีปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ 47,528 ล้าน ลบ.ม.คิดเป็นร้อยละ 69 (เป็นปริมาณน้ำใช้การได้ 24,214 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 35 ของความจุอ่าง) อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 367 แห่ง ความจุ 3,960 ล้าน ลบ.ม. มีปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 2,450 ล้านลูกบาศก์เมตร (เป็นปริมาณน้ำใช้การได้ 2,252 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 57 ของความจุอ่าง) สรุปสภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั่วประเทศ 398 แห่ง ความจุ 72,449 ล้านลูกบาศก์เมตร มีปริมาณน้ำรวมกันทั้งหมด 49,978 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 69 (เป็นปริมาณน้ำใช้การได้ 26,466 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 37 ของความจุอ่าง)

8 ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯขนาดใหญ่ตามภาคต่างๆรายเดือน (1 พ.ย.-6 ต.ค.51)
Inflow เฉลี่ย (1 ม.ค.- 31 ธ.ค.) 38,221 ล้าน ลบ.ม. Inflow ตั้งแต่ 1 พ.ย. 50 –31 ธ.ค.50 4,440 Inflow ตั้งแต่ 1 ม.ค ปัจจุบัน 34,348 Inflow ตั้งแต่ 1 พ.ย. 50 –ปัจจุบัน 39,789 Inflow ฤดูฝนจากปัจจุบัน-31 ต.ค.51 -568 Inflowเฉลี่ยรายเดือนจากปัจจุบัน-31ต.ค.51 4,177 ความจุทั้งหมด 68,489 ปริมาตรน้ำปัจจุบัน 53,632(78%) รับได้อีก 14,857 ต้องใช้ในฤดูฝนตั้งแต่ปัจจุบัน-31ต.ค.51 325 ความจุที่รับได้อีกทั้งหมด 15,182(22%) ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ ปริมาณน้ำเฉลี่ยไหลลงอ่างทั้งปี 38,221 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำไหลลงอ่าง ตั้งแต่ 1 พ.ย ก.ย. 51 จำนวน 29,060 ล้าน ลบ.ม. คาดว่าปริมาณน้ำไหลลงอ่างในช่วงฤดูฝนจากปัจจุบันจนถึง สิ้นเดือน ต.ค. นี้ อีก จำนวน 9,161 ล้าน ลบ.ม. ต้องใช้น้ำในช่วงฤดูฝนอีก 676 ล้าน ลบ.ม. ศักยภาพการรองรับน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่สามารถรับน้ำได้อีก 32 % (21,637 ล้าน ลบ.ม).

9 อ่างฯ โครงการขนาดใหญ่ วันที่ 6 ตุลาคม 2551
อ่างฯ โครงการขนาดใหญ่ วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ภาค จำนวน ≤ 30% 31-50% 51-80% >80% เหนือ 5 - ตอน 12 กลาง 3 ตะวันตก 2 ตะวันออก ใต้ 4 รวม 31 1 14 15 แม่กวง ภูมิพล/กิ่วลม สิริกิติ์/ แม่งัด/ น้ำพุง/ จุฬาภรณ์/ ลำตะคอง/ มูลบน / ห้วยหลวง/น้ำอูน/ อุบลรัตน์ / ลำปาว/ลำพระเพลิง/ลำแซะ/ สิรินธร ลำนางรอง ป่าสัก/ทับเสลา/ กระเสียว อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาตรน้ำ มีปริมาณน้ำน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 % มี 2 แห่งได้แก่ อ่างเก็บน้ำแม่กวง (18%) บางพระ(30%) อยู่ในเกณฑ์พอใช้(มีความจุระหว่าง 31-50%) จำนวน 10 แห่ง อยู่ในเกณฑ์ดี (มีความจุระหว่าง %) จำนวน 18 แห่ง อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (มีความจุมากกว่า 80 %) จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ อ่างฯ ศรีนครินทร์ (85%) ศรีนครินทร์/ วชิราลงกรณ ขุนด่านฯ/คลองสียัด/ หนองปลาไหล/ประแสร์ บางพระ แก่งกระจาน/ปราณบุรี/รัชชประภา /บางลาง 7 หมายเหตุ : เฉพาะอ่างที่มีความจุมากกว่า 100 ล้าน ลบ.ม.

10 อ่างฯขนาดใหญ่ อ่างฯขนาดใหญ่
59 เขื่อนปราณบุรี 6 ต.ค. 51 เขื่อนแม่งัด 89 73 80 เขื่อนกิ่วลม เขื่อนรัชชประภา 30 เขื่อนแม่กวง 84 เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนน้ำพุง เขื่อนน้ำอูน 57 95 59 101 เขื่อนภูมิพล เขื่อนห้วยหลวง เขื่อนอุบลรัตน์ 58 94 85 เขื่อนบางลาง เขื่อนลำปาว 69 เขื่อนทับเสลา แม่น้ำโขง เขื่อนจุฬาภรณ์ 72 เขื่อนกระเสียว เขื่อนป่าสัก เขื่อนวชิราลงกรณ์ 82 72 87 เขื่อนลำตะคอง เขื่อนมูลบน เขื่อนสิรินธร 76 เขื่อนลำแซะ 80 42 อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาตรน้ำ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (มีความจุมากกว่า 80 %) จำนวน 2 แห่ง อยู่ในเกณฑ์ดี (มีความจุระหว่าง51-80 %) จำนวน 18 แห่ง อยู่ในเกณฑ์พอใช้( มีความจุระหว่าง 31-50%) จำนวน 9 แห่ง ส่วนอ่างเก็บน้ำที่มีปริมาณน้ำน้อยกว่า 30 % มี 2 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ำแม่กวง จังหวัดเชียงใหม่ อ่างเก็บน้ำคลองสียัด จังหวัดฉะเชิงเทรา 80 82 91 104 87 เขื่อนขุนด่านฯ เขื่อนศรีนครินทร์ 87 เขื่อนลำนางรอง เขื่อนลำพระเพลิง 92 เขื่อนคลองสียัด เขื่อนประแสร์ 40 >80% ดีมาก เขื่อนบางพระ เขื่อนแก่งกระจาน 54 92 เขื่อนหนองปลาไหล % เกณฑ์ดี % พอใช้ ≤ 30% น้ำน้อย

11 คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย.51 17,411 (10,761) ล้าน ลบ.ม.
ภูมิพลและสิริกิติ์ 69% คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย ,411 (10,761) ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 22,972 ล้าน ลบ.ม. ปี 2550 ปี2549 ปี 2551 ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด 6,650 ล้าน ลบ.ม. 6 ต.ค.51 Volume 15, mcm. Inflow mcm. Release mcm. รับได้อีก 7, mcm. อ่างเก็บน้ำภูมิพล และสิริกิติ์ ปัจจุบัน มีปริมาณน้ำในอ่าง 14,225 ล้าน ลบ.ม.คิดเป็นร้อยละ 62 ของความจุอ่างฯ เมื่อเทียบกับปี 2550 (15,085 ล้าน ลบ.ม.) น้อยกว่าปี จำนวน 830 ล้าน ลบ.ม. คาดว่า ณ สิ้น ต.ค. 51 ในฤดูแล้งหน้า จะมีปริมาณน้ำต้นทุนในอ่างเก็บน้ำทั้งสองอ่างฯ เพื่อวางแผนการปลูกพืชฤดูแล้ง จำนวน 18,009 ล้าน ลบ.ม.(เป็นปริมาณน้ำใช้การได้ 11,359 ล้าน ลบ.ม.)เมื่อเทียบกับปี 2550 (18,866 ล้าน ลบ.ม.) น้อยกว่า จำนวน 857 ล้าน ลบ.ม. ปริมาณน้ำคงเหลือ ณ 1 พ.ย.51 = 17,411 MCM :.ใช้การได้ 10,761 MCM

12 อ่างฯ โครงการขนาดกลาง วันที่ 6 ตุลาคม 2551
อ่างฯ โครงการขนาดกลาง วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ภาค จำนวน ≤ 30% 31-50% 51-80% > 80% เหนือ 51 5 15 26 ตอน 222 2 9 30 181 กลาง 1 6 ตะวันตก 7 4 ตะวันออก 47 11 ใต้ 31 8 รวม 367 73 249

13 สถานการณ์น้ำท่าในลำน้ำสายหลัก 6 ตุลาคม 2551
X.180 P.67 N.64 Y.1C N.1 X.37A P.1 W.21 Y.4 Kh.58A Kh.1 Kh.16B X.56 W.4A X.44 Y.16 N.5A Kh.104 X.40A Y.17 N.24A s.3 X.119A แม่น้ำโขง P.7A N.8A E.16A E.18 N.14A S.42 E.8A E.23 P.17 N.67 E.9 E.20A C.2 M.6A C.13 M.7 M.2A M.5 C.3 แม่น้ำที่อยู่ในเกณฑ์น้ำน้อย ได้แก่ แม่น้ำปิง เหนือเขื่อนภูมิพล แม่น้ำวังตอนบน แม่น้ำยมตอนบน แม่น้ำน่าน เหนือเขื่อนสิริกิติ์ แม่น้ำที่อยู่ในเกณฑ์น้ำมาก ได้แก่แม่น้ำโขง ที่จังหวัดหนองคาย และ นครพนม ส่วนแม่น้ำสายอื่นๆ อยู่ในเกณฑ์ปกติ C.7A M.9 K.10 C.35 สภาพน้ำ น้ำท่วม น้ำมาก :สูงกว่า 70.1% ของความจุลำน้ำ น้ำปกติ :สูงกว่า 30.1%-70% ของลำน้ำ น้ำน้อย :ต่ำกว่า 30% ของลำน้ำ Kgt.3 T.1 K.37 Kgt.10 Z.21 ลุ่มน้ำเพชรบุรี Z.10

14 สถานี P. 17 บ้านท่างิ้ว อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์
วันที่ 29 กันยายน 2551 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 307 cms ระดับน้ำ ม. (ต่ำกว่าตลิ่ง 2.85 ม.) 11

15 แม่น้ำยม ที่ สถานี Y. 17 บ้านสามง่าม อ.สามง่าม จ.พิจิตร
วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 284 cms ระดับน้ำ ม. (ต่ำกว่าตลิ่ง 1.68 ม.) 15

16 สถานี N.67 สะพานบ้านเกยไชย อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์
วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,104 cms ระดับน้ำ ม. (ต่ำกว่าตลิ่ง1.14 ม.)

17 สถานี C.2 ค่ายจิระประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์
วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,662 cms ระดับน้ำ ม. (ต่ำกว่าตลิ่ง 2.42 ม.) 13

18 สถานี C.13 ศูนย์อุทกฯภาคกลาง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท
วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,638 cms ระดับน้ำเหนือเขื่อน ม. ระดับน้ำท้ายเขื่อน ม. 14

19 สถานี c.29 อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
วันที่ 6 ตุลาคม 2551 ปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,949 cms ระดับน้ำ+2.28 ม. มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

20 เจ้าพระยา ท่าจีน

21 เขื่อนภูมิพล ความจุที่ระดับเก็บกัก 13,462 ล้าน ม.3 วันนี้ เมื่อวาน ระบาย 58(5) ม.3/วิ (ล้านม.3) เขื่อนสิริกิติ์ ความจุที่ระดับเก็บกัก 9,510 ล้าน ม.3 วันนี้ เมื่อวาน ระบาย 92(8) 91(8) ม.3/วิ (ล้านม.3) 1 วัน 6 ชม. P.17 อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์ ระดับตลิ่ง ม. วันนี้ เมื่อวาน ระดับน้ำ +35.51 +35.49 ม.รทก ปริมาณ 432 422 ม.3/วิ N.67 อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์ ระดับตลิ่ง ม. วันนี้ เมื่อวาน ระดับน้ำ +26.13 +26.42 ม.รทก ปริมาณ 1,104 1,1229 ม.3/วิ C.2 อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ระดับตลิ่ง ม. วันนี้ เมื่อวาน ระดับน้ำ +23.18 +23.10 ม.รทก. ปริมาณ 1,662 1,630 ม.3/วิ Ct.2A อ.เมือง จ.อุทัยธานี ระดับตลิ่ง ม. วันนี้ เมื่อวาน ระดับน้ำ +17.58 +17.51 ม.รทก ปริมาณ 142 1337 ม.3/วิ แม่น้ำสะแกกัง ทุ่งฝั่งตะวันออก (275 ลบ.ม./วิ) วันนี้ เมื่อวาน ปริมาณ 38 ม.3/วิ 20ชม.30 นาที ทุ่งฝั่งตะวันตก (485 ลบ.ม/วิ) วันนี้ เมื่อวาน ปริมาณ 292 ม.3/วิ c.13 เขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท ตลิ่งเหนือ / ท้าย ม. วันนี้ เมื่อวาน ระดับน้ำเหนือเขื่อน +16.40 ม. ระดับน้ำท้ายเขื่อน +13.15 +13.05 ปริมาณ 1,638 1,603 ม3/วิ เขื่อนป่าสักฯ ความจุที่ระดับเก็บกัก 960ล้าน ม.3 วันนี้ เมื่อวาน ไหลลง 55 54 ม.3/วิ ระบาย 554 650 เขื่อนภูมิพล ปริมาณน้ำปัจจุบัน 65% ยังสามารถรับน้ำได้อีก 4,584 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนกิ่วลม ปริมาณน้ำปัจจุบัน 53% ยังสามารถรับน้ำได้อีก 48 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนสิริกิติติ์ ปริมาณน้ำปัจจุบัน 68% ยังสามารถรับน้ำได้อีก 2,964 ล้าน ลบ.ม. ระยะเวลาเดินทางของน้ำ ท้ายเขื่อนภูมิพล ถึงนครสวรรค์ 3 วัน เขื่อนกิ่วลม ถึงนครสวรรค์ 5 วัน อ.เมืองแพร่ ถึงนครสวรรค์ 3 วัน ท้ายเขื่อนสิริกิตติ์ ถึง นครสวรรค์ 5 วัน ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท ถึง ปากแม่น้ำ (ออกทะเล) ใช้เวลา 4 วัน จากการติดตามการขึ้น-ลงของระดับน้ำทะเล พบว่าน้ำทะเลจะขึ้นสูงสุดตั้งแต่วันที่ 23 – 30 กันยายน ดังนั้นน้ำเหนือที่มีอยู่ขณะนี้ได้วางแผนชะลอไว้ที่เขื่อนเจ้าพระยาเพื่อรอให้พ้นช่วงที่น้ำทะเลหนุนสูง ข้อมูล ณ วันที่ 6 ต.ค.51 2 1/2 วัน เขื่อนพระรามหก ตลิ่ง ม. วันนี้ เมื่อวาน ปริมาณ(เข้า) 520 547 ม.3/วิ 1 วัน 1 วัน คลองระพีพัฒน์ วันนี้ เมื่อวาน ปริมาณ 74 78 ม.3/วิ บางไทร

22 สิ้นสุดการนำเสนอ ขอขอบคุณ
สิ้นสุดการนำเสนอ ขอขอบคุณ Royal Irrigation Department กรมชลประทาน

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33 แผนการระบายน้ำสียัด

34 39% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 71.4 ล้าน ลบ.ม. ปี 2549 ปี 2550 ดอกกราย ปี 2551 14 พ.ค 51. Volume mcm. Inflow mcm. Release (0.42) mcm. รับได้อีก mcm.g, คาดการณ์ปริมาณน้ำปี 2551 แผน 17(24%) ความจุที่ระดับต่ำสุด 3 ล้าน ลบ.ม.

35 แผนการระบายน้ำดอกกราย

36 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 46% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 40.1 ล้าน ลบ.ม.
14 พ.ค 51. Volume mcm Inflow mcm. Release (0.17) mcm. รับได้อีก mcm. ปี 2551 คาดการณ์ปริมาณน้ำปี 2551 แผน 16 (40%) ความจุที่ระดับต่ำสุด 3 ล้าน ลบ.ม.

37 Volume 7.17 mcm. Inflow 0.049 mcm. Release 0.032 (0.03) mcm.
43% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ ล้าน ลบ.ม. ปี 2550 ปี 2551 ปี 2549 14 พ.ค 51. Volume mcm. Inflow mcm. Release (0.03) mcm. รับได้อีก mcm ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด ล้าน ลบ.ม.

38 24% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 21.4 ล้าน ลบ.ม. ปี 2549 ปี 2550
14 พ.ค 51. Volume mcm. Inflow mcm. Release (0.02) mcm. รับได้อีก mcm

39 ปริมาณน้ำคงเหลือ ณ 1 พ.ย.51 = 18,009 MCM :.ใช้การได้ 11,359 MCM
ภูมิพลและสิริกิติ์ 46% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 22,972 ล้าน ลบ.ม. ปี2549 ปี 2550 ปี 2551 คาดการณ์น้ำในอ่างฯ ปี 2551 (ปีน้ำเฉลี่ย) 18,009 (11,359) 9 ก.ย. 51 Volume 14, mcm. Inflow mcm. Release mcm. รับได้อีก 8, mcm. ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด 6,650 ล้าน ลบ.ม. ในพื้นที่โครงการเจ้าพระยาใหญ่ซึ่งมีอ่างเก็บน้ำภูมิพลและสิริกิติ์เป็นแหล่งน้ำต้นทุนหลัก กรณีปีน้ำน้อย เมื่อสิ้นฤดูการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง(สิ้นเดือนเมษายน) น้ำใช้การได้จะคงเหลือประมาณ 4,341 ล้าน ลบ.ม.ซึ่งต้องกันไว้สำหรับการปลูกพืชต้นฤดูฝนและการอุปโภคบริโภค รักษาระบบนิเวศน์ และการอุตสาหกรรมกรณีฝนทิ้งช่วงในตอนต้นฤดูฝน ซึ่งต้องติดตามสถานการณ์ปลูกข้าวนาปรังอย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้มีการเพาะปลูกมากจนเกิดการขาดแคลนน้ำได้ ปริมาณน้ำคงเหลือ ณ 1 พ.ย.51 = 18,009 MCM :.ใช้การได้ 11,359 MCM

40 53% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 13,462 ล้าน ลบ.ม. เกณฑ์เก็บกักน้ำสูงสุด ปี 2550 ปี 2545 ปีน้ำมาก:11,016 ปี 2549 ภูมิพล 9,447 (5,674) ปี 2551 เกณฑ์เก็บกักน้ำต่ำสุด น้ำเฉลี่ย 15 ก.ย. 51 Volume 7, mcm. Inflow mcm. Release mcm. รับได้อีก 6, mcm. ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด 3,800 ล้าน ลบ.ม. Avg. Annual Inflow 5,602 mcm. Avg. Inflow ,782 mcm. Acc. Inflow ,470 mcm. อ่างเก็บน้ำภูมิพล ปัจจุบันมีปริมาณน้ำในอ่าง 6,942 ล้าน ลบ.ม.คิดเป็นร้อยละ 52 ของความจุอ่างฯ เมื่อเทียบกับปี 2550 (8,759 ล้านลูกบาศก์เมตร) น้อยกว่า จำนวน 1,817 ล้านลูกบาศก์เมตร คาดการณ์เมื่อสิ้นเดือน ต.ค.51 ต้นฤดูแล้ง จะมีปริมาณน้ำในอ่างฯ 9,447 ล้าน ลบ.ม. น้อยกว่าปี 2550 จำนวน 1,968 ล้านลูกบาศก์เมตร

41 79% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ 9,510 ล้าน ลบ.ม. สิริกิติ์ ปี 2550 เกณฑ์เก็บกักน้ำสูงสุด ปีน้ำมาก 8,532 (5,682) ปี 2545 น้ำเฉลี่ย เกณฑ์เก็บกักน้ำต่ำสุด 15 ก.ย. 51 Volume 7,493 mcm. Inflow mcm. Release mcm รับได้อีก 2,018 mcm ปี 2551 ปี 2549 ความจุที่ระดับเก็บกักต่ำสุด 2,850 ล้าน ลบ.ม. Avg. Annual Inflow 5, mcm. Avg. Inflow , mcm. Acc. Inflow , mcm. อ่างเก็บน้ำสิริกิติ์ ปัจจุบันมีปริมาณน้ำในอ่าง 7,313 ล้าน ลบ.ม.คิดเป็นร้อยละ 77 ของความจุอ่างฯ เมื่อเทียบกับปี 2550 (6,326 ล้าน ลบ.ม.) มากกว่าปี 50 จำนวน 987 ล้าน ลบ.ม. คาดการณ์เมื่อสิ้นเดือน ต.ค.51 ต้นฤดูแล้ง จะมีปริมาณน้ำในอ่างฯ 8,532 ล้าน ลบ.ม. มากกว่าปี 2550 จำนวน 1,081 ล้านลูกบาศก์เมตร

42 คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย.51 87 ล้าน ลบ.ม.
35% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ ล้าน ลบ.ม. คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย ล้าน ลบ.ม. ชลบุรี ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 9 ก.ย. 51 Volume mcm. Inflow mcm. Release mcm. รับได้อีก mcm. ปี 2548 ความจุที่ระดับต่ำสุด ล้าน ลบ.ม. ในจังหวัดชลบุรีมีอ่างเก็บน้ำหลักรวม 7 แห่งได้แก่ อ่างฯบางพระ อ่างฯหนองค้อ อ่างฯชากนอก อ่างฯมาบประชัน อ่างฯหนองกลางดง อ่างฯห้วยสะพาน และอ่างฯห้วยขุนจิต ปัจจุบันมีน้ำต้นทุนรวม ล้าน ลบ.ม. มีการใช้น้ำวันละ 0.2 ล้าน ลบ.ม. กรณีปีน้ำน้อยเหมือนปี 2548 ซึ่งฝนทิ้งช่วงนานเริ่มเข้าฤดูฝนในภาคตะวันออกประมาณกลางเดือนกันยายน(ปริมาณน้ำต้นทุนในจังหวัดชลบุรีปี 2548เหลือต่ำสุดประมาณ 15 ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน้ำต้นทุนในจังหวัดชลบุรีปี 2551 สามารถใช้ได้โดยไม่เกิดการขาดแคลนน้ำโดยในช่วงต้นเดือนกันยายน 2551 จะมีน้ำคงเหลือประมาณ 59 ล้าน ลบ.ม.

43 คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย.51 245 ล้าน ลบ.ม.
73% ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ ล้าน ลบ.ม. ปี 2550 ระยอง1 ปี 2549 คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย ล้าน ลบ.ม. ปี 2551 9 ก.ย. 51 Volume mcm. Inflow mcm. Release mcm. รับได้อีก mcm. ปี 2548 ความจุที่ระดับต่ำสุด 19.5 ล้าน ลบ.ม. ในจังหวัดระยองมีอ่างเก็บน้ำหลักรวม 4 แห่ง ได้แก่ ในลุ่มน้ำระยอง 3 แห่งได้แก่อ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล อ่างฯดอกกราย อ่างฯคลองใหญ่ และลุ่มน้ำประแสร์ 1 อ่างฯคือ อ่างฯประแสร์ สำหรับในลุ่มน้ำระยองซึ่งเป็นแหล่งน้ำหลักปัจจุบันมีน้ำต้นทุนรวม ล้าน ลบ.ม. มีการใช้น้ำวันละ 0.89 ล้าน ลบ.ม. กรณีปีน้ำน้อยเหมือนปี 2548 ซึ่งฝนทิ้งช่วงนานเริ่มเข้าฤดูฝนในภาคตะวันออกประมาณกลางเดือนกันยายน(ปริมาณน้ำต้นทุนในจังหวัดระยองปี 2548เหลือต่ำสุดประมาณ 16.5 ล้าน ลบ.ม.) สำหรับปี 2551ปริมาณน้ำต้นทุนในลุ่มน้ำระยองสามารถใช้ได้โดยไม่เกิดการขาดแคลนน้ำโดยในช่วงต้นเดือนกันยายน 2551 จะมีน้ำคงเหลือประมาณ 130 ล้าน ลบ.ม. นอกจากนี้อ่างเก็บน้ำประแสร์ปัจจุบันมีน้ำ ล้าน ลบ.ม.มีการใช้น้ำวันละ 0.55 ล้าน ลบ.ม. เมื่อสิ้นฤดูฝนจะยังคงมีน้ำเหลือประมาณ 160 ล้าน ลบ.ม.ซึ่งสามารถส่งน้ำมาเสริมได้กรณีเกิดการขาดแคลนน้ำ

44 คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย.51 508 ล้าน ลบ.ม.
76% ปี 2550 ความจุที่ระดับเก็บกักปกติ ล้าน ลบ.ม. ระยอง2 ปี 2549 คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ 1 พ.ย ล้าน ลบ.ม. ปี 2551 9 ก.ย. 51 Volume mcm. Inflow mcm. Release mcm. รับได้อีก mcm. ปี 2548 ความจุที่ระดับต่ำสุด ล้าน ลบ.ม. ในจังหวัดระยองมีอ่างเก็บน้ำหลักรวม 4 แห่ง ได้แก่ ในลุ่มน้ำระยอง 3 แห่งได้แก่อ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล อ่างฯดอกกราย อ่างฯคลองใหญ่ และลุ่มน้ำประแสร์ 1 อ่างฯคือ อ่างฯประแสร์ สำหรับในลุ่มน้ำระยองซึ่งเป็นแหล่งน้ำหลักปัจจุบันมีน้ำต้นทุนรวม ล้าน ลบ.ม. มีการใช้น้ำวันละ 0.89 ล้าน ลบ.ม. กรณีปีน้ำน้อยเหมือนปี 2548 ซึ่งฝนทิ้งช่วงนานเริ่มเข้าฤดูฝนในภาคตะวันออกประมาณกลางเดือนกันยายน(ปริมาณน้ำต้นทุนในจังหวัดระยองปี 2548เหลือต่ำสุดประมาณ 16.5 ล้าน ลบ.ม.) สำหรับปี 2551ปริมาณน้ำต้นทุนในลุ่มน้ำระยองสามารถใช้ได้โดยไม่เกิดการขาดแคลนน้ำโดยในช่วงต้นเดือนกันยายน 2551 จะมีน้ำคงเหลือประมาณ 130 ล้าน ลบ.ม. นอกจากนี้อ่างเก็บน้ำประแสร์ปัจจุบันมีน้ำ ล้าน ลบ.ม.มีการใช้น้ำวันละ 0.55 ล้าน ลบ.ม. เมื่อสิ้นฤดูฝนจะยังคงมีน้ำเหลือประมาณ 160 ล้าน ลบ.ม.ซึ่งสามารถส่งน้ำมาเสริมได้กรณีเกิดการขาดแคลนน้ำ

45 ข้อมูลจากรมอุตุฯ คาดการณ์ปริมาณฝนทั้งประเทศจะมีค่าใกล้เคียงกับปี 2549 และในช่วงสิ้นเดือนกรกฎาคมจะมีปริมาณฝนสะสม 868 มม. มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google