งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา 13.00 น.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน ตุลาคม ข้อมูล ณ เวลา น.

2 สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน
พายุโซนร้อน “กรอซา” บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกมีแนวโน้มจะเคลื่อนตัวผ่านประเทศฟิลิปปินส์ลงสู่ทะเลจีนใต้ และจะขึ้นฝั่งบริเวณชายฝั่งประเทศเวียดนามตามลำดับ ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมง มีฝนตกหนาแน่นในภาคเหนือตอนบนและภาคใต้ ระดับน้ำในแม่น้ำสำคัญ ยังมีระดับล้นตลิ่งหลายพื้นที่ ได้แก่ แม่น้ำชี-จ.ขอนแก่น แม่น้ำมูล-จ.นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ แม่น้ำบางปะกง-จ.ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ณ วันที่ 30 ต.ค. 56 ส่วนใหญ่ปริมาณน้ำอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง เขื่อนที่ปริมาณน้ำเกินความจุเก็บกัก ได้แก่ กิ่วคอหมา(108%) ลำพระเพลิง(101%) ลำนางรอง(102%) ลำแซะ(111%) มูลบน(106%) ป่าสักฯ(100%) กระเสียว(100%) หนองปลาไหล(103%) คลองสียัด(102%) ประแสร์(104%)

3 การคาดการณ์ คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ 30 ต.ค. - 1 พ.ย. 56 จะมีฝนตกเล็กน้อยในภาคใต้ เนื่องจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้มีกำลังอ่อนลง โดยมีฝนตกกระจายเป็นแห่งๆ ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไป คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ พ.ย. 56 มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้เริ่มมีกำลังแรงขึ้น ส่งผลให้ภาคใต้มีฝนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ พายุโซนร้อน “กรอซา” บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกมีแนวโน้มจะเคลื่อนตัวผ่านประเทศฟิลิปปินส์ลงสู่ทะเลจีนใต้ และจะขึ้นฝั่งบริเวณชายฝั่งประเทศเวียดนามประมาณวันที่ 3 พ.ย. อาจจะส่งผลให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะบริเวณด้านตะวันออกของภาคมีฝนเพิ่มขึ้น ซึ่งต้องติดตามการคาดการณ์เส้นทางการเคลื่อนที่ของพายุอย่างใกล้ชิด คาดการณ์ปริมาณน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาล่วงหน้า 7 วัน แม่น้ำเจ้าพระยา ที่สถานี C.2 ปริมาณน้ำมีแนวโน้มลดลง

4 เส้นทางพายุและภาพถ่ายจากดาวเทียม MTSAT-2
วันที่ 30 ต.ค. 56 เวลา น. 4

5 พายุโซนร้อน “กรอซา” ที่มา: JTWC 5

6 แผนที่อากาศ วันที่ 30 ต.ค. 56 เวลา 07.00 น.
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

7 ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงย้อนหลังสูงสุด
วันที่ 30 ต.ค. 56 เวลา น.

8 สถานการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำสายสำคัญ (30 ต.ค. 56)
น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ แม่น้ำชี มูล ป่าสัก ท่าจีน และบางปะกง น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำนอกคันกั้นน้ำที่ คลองโผงเผง และคลองบางบาล

9 สถานการณ์น้ำ – แม่น้ำมูล
MUN001 ต.ทุ่งอรุณ อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา ระดับน้ำ ณ วันที่ 30 ต.ค. 56 เวลา น. แม่น้ำมูลที่ อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา แนวโน้มลดลง 9 ที่มา : สสนก

10 สถานการณ์น้ำ – แม่น้ำบางปะกง
BPK003 ต.บางขนาก อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา NYK000 ต.องครักษ์ อ.องครักษ์ จ.นครนายก ระดับน้ำ ณ วันที่ 30 ต.ค. 56 เวลา น. แม่น้ำบางปะกง ที่ อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา และ อ.องครักษ์ จ.นครนายก แนวโน้มลดลง 10 ที่มา : สสนก

11 ปริมาณน้ำกักเก็บในอ่างขนาดใหญ่ (30 ต.ค. 56)
น้ำในอ่างฯ ทั้งหมด 53,013 ล้าน ลบ.ม. (75%) มากกว่าปีที่แล้ว 746 ล้าน ลบ.ม. (1%) ภาคเหนือ ปริมาตรน้ำในอ่าง 14,431 ล้าน ลบ.ม. (58%) น้ำไหลลงอ่างฯ ภูมิพล สิริกิติ์ 30, 10 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ระบาย 2, 3 ล้าน ลบ.ม. ตามลำดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปริมาตรน้ำในอ่าง 6,634 ล้าน ลบ.ม. (80%) น้ำไหลลงอ่างฯ อุบลรัตน์ 10 ล้านลบ.ม. ระบาย 5 ล้านลบ.ม. ภาคกลาง-ตะวันตก ปริมาตรน้ำในอ่าง 24,359 ล้าน ลบ.ม. (87%) น้ำไหลลงอ่างฯ เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 17, 9, 8 ล้านลบ.ม. ตามลำดับ ระบาย 20, 15, 7 ล้านลบ.ม. ตามลำดับ ภาคตะวันออก ปริมาตรน้ำในอ่าง 1,150 ล้าน ลบ.ม. (98%) น้ำไหลลงอ่างฯ หนองปลาไหล ประแสร์ 3, 1 ล้านลบ.ม. ตามลำดับ ระบาย 3, 2 ล้านลบ.ม. ตามลำดับ ภาคใต้ ปริมาตรน้ำในอ่าง 6,439 ล้าน ลบ.ม. (79%) น้ำไหลลงอ่างฯ แก่งกระจาน ปราณบุรี รัชชประภา 4, 2, 4 ล้านลบ.ม. ตามลำดับ ระบาย 5, 2, 1 ล้านลบ.ม. ตามลำดับ

12 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม
H 11.5 30 ต.ค. 56 31 ต.ค. 56 1 พ.ย. 56 รายละเอียดเพิ่มเติม 12

13 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม
2 พ.ย. 56 3 พ.ย. 56 H 7 4 พ.ย. 56 5 พ.ย. 56 รายละเอียดเพิ่มเติม 13

14 คาดการณ์ปริมาณน้ำท่าในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
สถานี C.2 ค่ายจิรประวัติ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ หมายเหตุ HAII : คาดการณ์ ณ วันที่ 30 ต.ค. 56 RID : คาดการณ์ ณ วันที่ 21 ต.ค. 56 JICA : คาดการณ์ ณ วันที่ 21 ต.ค. 56


ดาวน์โหลด ppt รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 30 ตุลาคม 2556 ข้อมูล ณ เวลา น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google